วิพากษ์ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ๙๗. โครงการวิจัย Spearhead ด้านบริการสุขภาพฉุกเฉิน (๒)


ตอนที่ ๑

ตอนที่ ๒

ตอนที่ ๓

ตอนที่ ๔

ตอนที่ ๕

ตอนที่ ๖

ตอนที่ ๗

ตอนที่ ๘

ตอนที่ ๙

ตอนที่ ๑๐

ตอนที่ ๑๑

ตอนที่ ๑๒

ตอนที่ ๑๓

ตอนที่ ๑๔

ตอนที่ ๑๕

ตอนที่ ๑๖

ตอนที่ ๑๗

ตอนที่ ๑๘

ตอนที่ ๑๙

ตอนที่ ๒๐

ตอนที่ ๒๑

ตอนที่ ๒๒

ตอนที่ ๒๓

ตอนที่ ๒๔

ตอนที่ ๒๕

ตอนที่ ๒๖

ตอนที่ ๒๗

ตอนที่ ๒๘

ตอนที่ ๒๙

ตอนที่ ๓๐

ตอนที่ ๓๑

ตอนที่ ๓๒

ตอนที่ ๓๓

ตอนที่ ๓๔

ตอนที่ ๓๕

ตอนที่ ๓๖

ตอนที่ ๓๗

ตอนที่ ๓๘

ตอนที่ ๓๙

ตอนที่ ๔๐

ตอนที่ ๔๑

ตอนที่ ๔๒

ตอนที่ ๔๓

ตอนที่ ๔๔

ตอนที่ ๔๕

ตอนที่ ๔๖

ตอนที่ ๔๗

ตอนที่ ๔๘

ตอนที่ ๔๙

ตอนที่ ๕๐

ตอนที่ ๕๑

ตอนที่ ๕๒

ตอนที่ ๕๓

ตอนที่ ๕๔

ตอนที่ ๕๕

ตอนที่ ๕๖

ตอนที่ ๔๗

ตอนที่ ๕๘

ตอนที่ ๕๙

ตอนที่ ๖๐

ตอนที่ ๖๑

ตอนที่ ๖๒

ตอนที่ ๖๓

ตอนที่ ๖๔

ตอนที่ ๖๕

ตอนที่ ๖๖

ตอนที่ ๖๗

ตอนที่ ๖๘

ตอนที่ ๖๙

ตอนที่ ๗๐

ตอนที่ ๗๑

ตอนที่ ๗๒

ตอนที่ ๗๓

ตอนที่ ๗๔

ตอนที่ ๗๕

ตอนที่ ๗๖

ตอนที่ ๗๗

ตอนที่ ๗๘

ตอนที่ ๗๙

ตอนที่ ๘๐

ตอนที่ ๘๑

ตอนที่ ๘๒

ตอนที่ ๘๓

ตอนที่ ๘๔

ตอนที่ ๘๕

ตอนที่ ๘๖

ตอนที่ ๘๗

ตอนที่ ๘๘

ตอนที่ ๘๙

ตอนที่ ๙๐

ตอนที่ ๙๑

ตอนที่ ๙๒

ตอนที่ ๙๓

ตอนที่ ๙๔

ตอนที่ ๙๕

ตอนที่ ๙๖

ผมเขียนบันทึกเรื่อง โครงการวิจัย Spearhead ด้านบริการสุขภาพฉุกเฉิน ตอนที่ ๑ ไว้ที่ (๑) 

วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ มีการประชุม คณะกรรมการอำนวยการ โครงการวิจัยการพัฒนาระบบบริการเพื่อการดูแลภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างครบวงจร (SECSI : Smart Emergency Care Services Integration) โดยผมเข้าประชุมทางไกลผ่าน ซูม  

โครงการนี้เริ่มตั้งแต่ปี ๒๕๖๒ (๒)    และจะดำเนินการต่อเนื่องเป็นเวลา ๕ ปี    ตอนนี้กิกรรมของโครงการในปีที่ ๑  ก็ดำเนินการต่อ    และมีการประกาศรับข้อเสนอโครงการที่จะเริ่มในปีที่ ๒  




ศ. นพ. สุวัฒน์ จริยาเลิศศักดิ์ ประธานโปรแกรมวาดภาพฝัน “ช้างทั้งตัว” ของระบบสุขภาพฉุกเฉิน  ว่าประกอบด้วยชิ้นส่วนย่อย ๑๑ ชิ้นส่วน  ดังรูป 



 จะเห็นว่า ตัวเชื่อมสำคัญคือระบบข้อมูล    และการพัฒนาโครงการย่อยยังไม่ยุติ    ยังสามารถพัฒนาต่อเนื่องได้ภายใต้แนวคิดข้างล่าง


ผมชอบวิธีจัดการโปรแกรมวิจัยแนวนี้    คือมีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้สูง    ภายใต้หลักการว่า ปรับตัวเพื่อให้ผลลัพธ์ของการวิจัยก่อผลกระทบได้อย่างแท้จริง    ไม่ใช่ยืดหยุ่นเพื่อผลประโยชน์ของนักวิจัย   

วิจารณ์ พานิช

๓๐ ก.ย. ๖๓ 

หมายเลขบันทึก: 687731เขียนเมื่อ 17 ธันวาคม 2020 18:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 ธันวาคม 2020 18:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท