วิพากษ์ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ๙๑. บพค. กับการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของมหาวิทยาลัย


ตอนที่ ๑

ตอนที่ ๒

ตอนที่ ๓

ตอนที่ ๔

ตอนที่ ๕

ตอนที่ ๖

ตอนที่ ๗

ตอนที่ ๘

ตอนที่ ๙

ตอนที่ ๑๐

ตอนที่ ๑๑

ตอนที่ ๑๒

ตอนที่ ๑๓

ตอนที่ ๑๔

ตอนที่ ๑๕

ตอนที่ ๑๖

ตอนที่ ๑๗

ตอนที่ ๑๘

ตอนที่ ๑๙

ตอนที่ ๒๐

ตอนที่ ๒๑

ตอนที่ ๒๒

ตอนที่ ๒๓

ตอนที่ ๒๔

ตอนที่ ๒๕

ตอนที่ ๒๖

ตอนที่ ๒๗

ตอนที่ ๒๘

ตอนที่ ๒๙

ตอนที่ ๓๐

ตอนที่ ๓๑

ตอนที่ ๓๒

ตอนที่ ๓๓

ตอนที่ ๓๔

ตอนที่ ๓๕

ตอนที่ ๓๖

ตอนที่ ๓๗

ตอนที่ ๓๘

ตอนที่ ๓๙

ตอนที่ ๔๐

ตอนที่ ๔๑

ตอนที่ ๔๒

ตอนที่ ๔๓

ตอนที่ ๔๔

ตอนที่ ๔๕

ตอนที่ ๔๖

ตอนที่ ๔๗

ตอนที่ ๔๘

ตอนที่ ๔๙

ตอนที่ ๕๐

ตอนที่ ๕๑

ตอนที่ ๕๒

ตอนที่ ๕๓

ตอนที่ ๕๔

ตอนที่ ๕๕

ตอนที่ ๕๖

ตอนที่ ๔๗

ตอนที่ ๕๘

ตอนที่ ๕๙

ตอนที่ ๖๐

ตอนที่ ๖๑

ตอนที่ ๖๒

ตอนที่ ๖๓

ตอนที่ ๖๔

ตอนที่ ๖๕

ตอนที่ ๖๖

ตอนที่ ๖๗

ตอนที่ ๖๘

ตอนที่ ๖๙

ตอนที่ ๗๐

ตอนที่ ๗๑

ตอนที่ ๗๒

ตอนที่ ๗๓

ตอนที่ ๗๔

ตอนที่ ๗๕

ตอนที่ ๗๖

ตอนที่ ๗๗

ตอนที่ ๗๘

ตอนที่ ๗๙

ตอนที่ ๘๐

ตอนที่ ๘๑

ตอนที่ ๘๒

ตอนที่ ๘๓

ตอนที่ ๘๔

ตอนที่ ๘๕

ตอนที่ ๘๖

ตอนที่ ๘๗

ตอนที่ ๘๘

ตอนที่ ๘๙

ตอนที่ ๙๐

บพค. ย่อมาจาก หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาการวิจัย และนวัตกรรม    มีบทบาทหน้าที่และภารกิจในการบริหารจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนในสาขาที่จำเป็นต่อการพัฒนาประเทศตามนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และนโยบายของรัฐบาล ทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยและนวัตกรรม ทุนการศึกษา ทุนสนับสนุนนักวิจัยและบุคลากรอื่นหลังปริญญา และทุนด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

นี่คือกลไกสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบวิจัยและนวัตกรรม    ที่ผมมีความเห็นว่า ควรมี R&I funding platformที่ก่อนวัตกรรมในหน่วยวิจัย โดยเฉพาะในหน่วยวิจัยภายในมหาวิทยาลัย   

กล่าวอย่างนี้ หมายความว่า platform การทำงาน R&I ในมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน เป็น platform ที่ล้าสมัย    เพราะยังเน้นการทำงานวิจัยเป็นโครงการย่อยๆ แบบกระจัดกระจาย    ในขณะที่ประเทศที่ระบบจัดการงานวิจัยและนวัตกรรมก้าวหน้า เขาจะให้ทุนแก่มหาวิทยาลัยแบบ directed basic research    คือมีทิศทางชัดเจนแน่นอน    มหาวิทยาลัยก็ต้องมีกลไกจัดการความร่วมมือของอาจารย์นักวิจัยต่างสาขามาร่วมทำงานกัน   เพื่อทำงานวิจัยตามทิศทางที่จะนำไปสู่การใช้ประโยชน์ในอนาคตที่ไม่ไกลนัก   

ผมมีความเห็นว่า บพค. ควรหาวิธีชักจูงและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยทำงานวิจัยแนว social engagement    คือ บพค. สร้างพื้นที่พูดคุยระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคประกอบการ (ธุรกิจ  ราชการ  ประชาสังคม)  เพื่อหาโจทย์และโอกาสใช้ความรู้ทางวิชาการสร้างนวัตกรรมในภาคประกอบการ   แล้วทำงานร่วมกันอย่างเป็นหุ้นส่วน    ต่างฝ่ายต่างลงทุน และต่างก็ได้รับประโยชน์ตามความมุ่งหมายของตน  

เท่ากับ บพค. ทำหน้าที่เปลี่ยนกระบวนทัศน์ของมหาวิทยาลัย จากร่วมมือกับภาคประกอบการโดยทำงานวิชาการแนวบริการ  สู่แนวหุ้นส่วน (engagement)   

วิจารณ์ พานิช        

๒๙ ก.ย. ๖๓ 

                                                                                                                

หมายเลขบันทึก: 686743เขียนเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2020 20:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2020 20:30 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท