วิพากษ์ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ๖๓. PMU A หรือ บพท. บริหารจัดการทุนวิจัยและนวัตกรรมด้านการพัฒนาระดับพื้นที่


ตอนที่ ๑

ตอนที่ ๒

ตอนที่ ๓

ตอนที่ ๔

ตอนที่ ๕

ตอนที่ ๖

ตอนที่ ๗

ตอนที่ ๘

ตอนที่ ๙

ตอนที่ ๑๐

ตอนที่ ๑๑

ตอนที่ ๑๒

ตอนที่ ๑๓

ตอนที่ ๑๔

ตอนที่ ๑๕

ตอนที่ ๑๖

ตอนที่ ๑๗

ตอนที่ ๑๘

ตอนที่ ๑๙

ตอนที่ ๒๐

ตอนที่ ๒๑

ตอนที่ ๒๒

ตอนที่ ๒๓

ตอนที่ ๒๔

ตอนที่ ๒๕

ตอนที่ ๒๖

ตอนที่ ๒๗

ตอนที่ ๒๘

ตอนที่ ๒๙

ตอนที่ ๓๐

ตอนที่ ๓๑

ตอนที่ ๓๒

ตอนที่ ๓๓

ตอนที่ ๓๔

ตอนที่ ๓๕

ตอนที่ ๓๖

ตอนที่ ๓๗

ตอนที่ ๓๘

ตอนที่ ๓๙

ตอนที่ ๔๐

ตอนที่ ๔๑

ตอนที่ ๔๒

ตอนที่ ๔๓

ตอนที่ ๔๔

ตอนที่ ๔๕

ตอนที่ ๔๖

ตอนที่ ๔๗

ตอนที่ ๔๘

ตอนที่ ๔๙

ตอนที่ ๕๐

ตอนที่ ๕๑

ตอนที่ ๕๒

ตอนที่ ๕๓

ตอนที่ ๕๔

ตอนที่ ๕๕

ตอนที่ ๕๖

ตอนที่ ๔๗

ตอนที่ ๕๘

ตอนที่ ๕๙

ตอนที่ ๖๐

ตอนที่ ๖๑

ตอนที่ ๖๒

ในหลักสูตรการบริหารจัดการงานวิจัยสู่เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ รุ่นที่ ๑   จัดโดยสถาบันคลังสมองของชาติ เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๓    ผมโชคดี ได้ฟัง ดร. กิตติ สัจจาวัฒนา  รักษาการผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาพื้นที่ (บพท.)  สอวช.    ที่เรียกกันง่ายๆ ว่า PMU A (Area-Based)   หรือชื่อย่อภาษาไทยว่า บพท.   บรรยายเรื่อง PMU A  : Mission, Execution and Key Results     

เป้าหมายคือ กระจายความเจริญและสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจสังคมท้องถิ่น ด้วยความรู้และนวัตกรรม

เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่หรือท้องถิ่น มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดี และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการรายใหม่  ธุรกิจขนาดจิ๋ว  วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม  วิสาหกิจชุมชน  และวิสาหกิจสังคมในระดับพื้นที่  

ดำเนินการใน ๒ ระดับ   คือระดับ micro  กับระดับ macro

  • ระดับ micro  หรือเศรษฐกิจฐานราก   
  • ระดับ macro เพื่อกระจายศูนย์กลางความเจริญ  

มีรายละเอียดดัง PowerPoint ที่คัดลอกมาข้างล่าง

ฟังการบรรยาย และดู PowerPoint ประกอบไปด้วย    ผมคิดว่าการสนับสนุนในปีงบประมาณ ๒๕๖๓  จำนวน ๗๒๐ ล้านบาท    ตามที่ระบุในหน้าสุดท้ายของ PowerPoint ไม่ใช่งบประมาณทั้งหมดของการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่    เพราะยังมีงบประมาณพัฒนาพื้นที่โดยตรงด้วย  อยู่ที่จังหวัด และที่ อปท.    หาก อบพ. ดำเนินการพัฒนาขีดความสามารถของมหาวิทยาลัยเพื่อท้องถิ่น ได้ผลดี    งบประมาณจะมากกว่านี้มาก    และหากใช้เงินสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมได้ผลกระทบสูง ในปีต่อๆ ไป จะมีงบประมาณเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน   

ผมมีความเห็นว่า ตัวชี้วัดผลกระทบสำคัญตัวหนึ่งของ อบพ. คือการสร้างงานในชนบท   

ดู Ppt ประกอบการบรรยายได้ที่ () และฟังเสียงการบรรยายได้ที่ part 1, part 2

วิจารณ์ พานิช

๒๒ ม.ค. ๖๓     

                 

Ppt kitti 050363 from Pattie KB

หมายเลขบันทึก: 675933เขียนเมื่อ 5 มีนาคม 2020 17:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 เมษายน 2020 19:11 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท