วิพากษ์ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) 41. นโยบาย อววน. เพื่อผลประโยชน์สองขั้ว


ตอนที่ ๑     ตอนที่ ๒     ตอนที่ ๓     ตอนที่ ๔     ตอนที่ ๕  

ตอนที่ ๖     ตอนที่ ๗     ตอนที่ ๘     ตอนที่ ๙     ตอนที่ ๑๐  

ตอนที่ ๑๑     ตอนที่ ๑๒     ตอนที่ ๑๓     ตอนที่ ๑๔ ตอนที่ ๑๕  

ตอนที่ ๑๖     ตอนที่ ๑๗     ตอนที่ ๑๘   ตอนที่ ๑๙   ตอนที่ ๒๐   

ตอนที่ ๒๑    ตอนที่ ๒๒    ตอนที่ ๒๓    ตอนที่ ๒๔    ตอนที่ ๒๕  

ตอนที่ ๒๖    ตอนที่ ๒๗   ตอนที่ ๒๘    ตอนที่ ๒๙    ตอนที่ ๓๐ 

ตอนที่ ๓๑     ตอนที่ ๓๒      ตอนที่ ๓๓   ตอนที่ ๓๔ ตอนที่ ๓๕

ตอนที่ ๓๖    ตอนที่ ๓๗    ตอนที่ ๓๘     ตอนที่ ๓๙    ตอนที่ ๔๐

ในการประชุมสภา มช. วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒   มีการนำเสนอการเตรียมพร้อมของฝ่ายบริหารมหาวิทยาลัย ต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการมีกระทรวง อว.    ที่ ดร. กิติพงค์ พร้อมวงค์  ผู้อำนวยการ สอวช. แจ้งว่า  จะมีการ reform สี่ด้านคือ  (๑) กลไกกำหนดนโยบาย  (๒) กลไกจัดสรรงบประมาณ  (๓) การปฏิรูประบบจัดการ  (๔) ปฏิรูประบบกำกับดูแล      

กลไกกำหนดนโยบาย จะมีระบบข้อมูล  สำหรับใช้ในการดำเนินนโยบายให้มี double-loop learning  

เวลาพูดถึงเป้าหมายของการพัฒนา อววน. มักจะเน้นที่การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศ   เพื่อสร้างรายได้เพิ่ม    แต่ประเทศไทยเป็นสังคมที่มีความเหลื่อมล้ำสูง (ที่หนึ่งในโลก)    นโยบายพัฒนาประเทศจึงต้องเป็น bipolar policy (คำของท่านนายกสภา ศ. นพ. เกษม วัฒนชัย) นโยบาย อววน. จึงต้องเน้น ผลประโยชน์สองขั้ว    คือขั้วยกระดับรายได้และการแข่งขันของประเทศ    กับขั้นลดความเหลื่อมล้ำ สร้างระบบที่เอื้อให้คนจนได้ยกระดับรายได้และความเป็นอยู่ของตนเอง

วิจารณ์ พานิช        

๓๐ ก.ย. ๖๒

หมายเลขบันทึก: 671165เขียนเมื่อ 17 ตุลาคม 2019 20:10 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 เมษายน 2020 19:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท