ชีวิตที่พอเพียง 3708. ทำงานเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (๔๙) กสศ. ร่วมสู้ภัยโควิด


บันทึกที่ ๑

บันทึกที่ ๒

บันทึกที่ ๓

บันทึกที่ ๔

บันทึกที่ ๕

บันทึกที่ ๖

บันทึกที่ ๗

บันทึกที่ ๘

บันทึกที่ ๙

บันทึกที่ ๑๐

บันทึกที่ ๑๑

บันทึกที่ ๑๒

บันทึกที่ ๑๓

บันทึกที่ ๑๔

บันทึกที่ ๑๕

บันทึกที่ ๑๖

บันทึกที่ ๑๗

บันทึกที่ ๑๘

บันทึกที่ ๑๙

บันทึกที่ ๒๐

บันทึกที่ ๒๑

บันทึกที่ ๒๒

บันทึกที่ ๒๓

บันทึกที่ ๒๔

บันทึกที่ ๒๕

บันทึกที่ ๒๖

บันทึกที่ ๒๗

บันทึกที่ ๒๘

บันทึกที่ ๒๙

บันทึกที่ ๓๐

บันทึกที่ ๓๑

บันทึกที่ ๓๒

บันทึกที่ ๓๓

บันทึกที่ ๓๔

บันทึกที่ ๓๕

บันทึกที่ ๓๖

บันทึกที่ ๓๗

บันทึกที่ ๓๘

บันทึกที่ ๓๙

บันทึกที่ ๔๐

บันทึกที่ ๔๑

บันทึกที่ ๔๒

บันทึกที่ ๔๓

บันทึกที่ ๔๔

บันทึกที่ ๔๕

บันทึกที่ ๔๖

บันทึกที่ ๔๗

บันทึกที่ ๔๘

ในการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓    มีการเสนอโครงการที่ปรับเพิ่มตามสถานการณ์การระบาดของโควิด ๑๙   เห็นได้ชัดเจนว่า ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นส่วนย่อยของความเสมอภาคในภาพใหญ่    และเหตุการณ์การระบาดมีผลกระทบต่อผู้ด้อยโอกาสในหลากหลายมิติมาก    คือเมื่อกระทบผู้ใหญ่ ทำให้ผู้ใหญ่ตกงาน หรือมีรายได้ลดลง    ก็มีผลกระทบต่อเด็กอย่างแน่นอน   

โครงการของ กสศ. ที่จัดขึ้นรองรับสถานการณ์โควิด ๑๙ ระบาด มี ๗ มาตรการ ได้แก่

  • ช่วยเหลือนักเรียนทุนเสมอภาคที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน ๔,๔๐๙ คน   ให้เงินช่วยเหลือคนละ ๙๖๐ บาท   เป็นเงิน ๔.๒ ล้านบาท   ใช้เงินบริจาค
  • เชิญชวนคนไทยร่วมบริจาคช่วยเหลือค่าอาหารกลางวันของนักเรียนทุนเสมอภาค ที่เป็นภาระเพิ่มของพ่อแม่ เพราะเลื่อนเปิดเทอม 
  • ช่วยเหลือนักเรียนทุนเสมอภาคในระบบการศึกษา ชั้น ป. ๑ - ป. ๖ จำนวน ๕ แสนคน   ให้ความช่วยเหลือค่าอาหารคนละ ๖๐๐ บามในช่วงปิดเทอมเพราะโควิด    รวมเงิน ๓๐๐ ล้านบาท  
  • ป้องกันนักเรียนทุนเสมอภาคชั้นอนุบาล - ม. ๓ ไม่กลับมาเรียนเมื่อเปิดเทอม    โดยเมื่อเปิดเทอมแรกให้เงินแก่ผู้ปกครอง ๒,๐๐๐ บาท   อีก ๑,๐๐๐ บาทจ่ายในเทอมที่สอง    จำนวนเงินที่จ่ายทั้งปีไม่เปลี่ยนแปลง    เด็ก ๗ แสนคน
  • ช่วยเหลือเด็กนอกระบบและกลุ่มเปราะบาง  ที่มีมากใน ๒๐ จังหวัด   ใช้เงินบริจาค ๗ แสนบาท
  • ค้นหาและช่วยเหลือเด็กนอกระบบเร่งด่วน ๓๖,๐๐๐ คน  ให้เงินช่วยเหลือคนละ ๔,๐๐๐ บาท
  • ค้นหาและช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในชุมชน ฝึกทักษะอาชีพเพื่อพัฒนาชุมชน  จำนวน ๑๐,๐๐๐ คน   ค่าใช้จ่ายคนละ ๑๑,๐๐๐ บาท  

สรุปมาตรการทั้ง ๗ ในแผนผังข้างล่าง

วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๓   ผมไปขายไอเดียต่อผู้บริหาร กสศ. ว่า    การช่วยเหลือประเด็นหลังต้องช่วยทั้ง “ให้ปลา” และ “ให้เบ็ด”     เพื่อให้พัฒนาศักยภาพของตนเองและชุมชน ขึ้นมายืนหยัดชีวิตในระยะยาวได้  

วิจารณ์ พานิช  

๖ พ.ค. ๖๓

  

   

หมายเลขบันทึก: 677758เขียนเมื่อ 2 มิถุนายน 2020 18:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 มิถุนายน 2020 18:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท