สารบัญงานเขียนวิชาการ เกี่ยวกับร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสามใหม่ ของประชาคมวิจัยการจัดการประชากรฯ


สารบัญงานเขียนวิชาการ

เกี่ยวกับร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสามใหม่

ของประชาคมวิจัยการจัดการประชากร นิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์

(http://www.gotoknow.org/posts/521059)


ข้อคิดและข้อสังเกตต่อกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม: 

ภาพรวมของเรื่อง


๑. มาตรา ๗ ทวิ วรรคสามใหม่ : แนวคิดมนุษย์นิยมในการกำหนดฐานะและเงื่อนไขการอยู่

ของคนต่างด้าวในประเทศไทย

โดย รศ. ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตร สายสุนทร

http://www.gotoknow.org/posts/521085

(หรือดาว์โหลดเอกสารฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/883/380/original_7bisPara3byArchanWell.pdf)


๒. กรณีศึกษากฎกระทรวงมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม ใหม่: ต้นกำเนิด เป้าหมาย มายาคติ และกรอบความคิด

โดย รศ. ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตร สายสุนทร

http://www.gotoknow.org/posts/520750


๓. "มาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม ใหม่”: เจตนารมณ์ของฝ่ายนิติบัญญัติของรัฐใน พ.ศ.๒๕๕๑ คืออะไร

โดย รศ. ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตร สายสุนทร

http://www.gotoknow.org/posts/520748


๔. กฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม ใหม่: กรอบในการกำหนดเนื้อหา ? 

แนวคิดหลักในการกำหนดเนื้อหา ?

โดย รศ. ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตร สายสุนทร

http://www.gotoknow.org/posts/520781


๕. การออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม:    

เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มิใช่อำนาจดุลพินิจ !!!

โดย นางสาวศิวนุช สร้อยทอง

http://www.gotoknow.org/posts/521071


๖. ข้อความคิดที่ผู้เขียนมีต่อร่างกฎกระทรวงกำหนดฐานะและเงื่อนไขการอยู่ในราชอาณาจักรไทย  ดูที่

ของผู้เกิดในราชอาณาจักรไทยซึ่งไม่ได้สัญชาติไทย พ.ศ. ...

โดย นางสาวศิวนุช สร้อยทอง

http://www.gotoknow.org/posts/521070


ข้อคิดและข้อสังเกตต่อกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม: 

แนวความคิดกฎหมายการเข้าเมือง


๗. กฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิวรรคสาม มีสถานะเป็นกฎหมายการเข้าเมืองหรือไม่ อย่างไร

มีผลบังคับใช้ได้หรือไม่ ???

โดย นางสาวพวงรัตน์ ปฐมสิริรักษ์

http://www.gotoknow.org/posts/521069


๘. การกำหนดสิทธิเข้าเมือง และสิทธิอาศัยของคนในประเทศไทยเป็นไปตามกฎหมายใด"

กับ การปรับใช้พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒

โดย นางสาวพวงรัตน์ ปฐมสิริรักษ์

http://www.gotoknow.org/posts/521075


ข้อคิดและข้อสังเกตต่อกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม: 

ความชอบด้วยกฎหมาย


๙. การร่างกฎกระทรวงกำหนดให้คนต่างด้าวซึ่งเกิดในไทยถูกถือว่าเป็นคนเข้าเมืองผิดกฎหมาย

: ขัดกฎหมายแม่บท ขัดกฎหมายรัฐธรรมนูญ ขัดกฎหมายอาญา ขัดกฎหมายระหว่างประเทศ

โดย นางสาวศิวนุช สร้อยทอง

http://www.gotoknow.org/posts/520923


๑๐. ร่างกฎกระทรวงมาตรา 7 ทวิวรรคสาม ยังคงกำหนดให้ “คนต่างด้าวเกิดไทยถูกถือเป็นคนเข้าเมืองผิดกฎหมาย” –แม้ไม่ลงโทษ ก็เป็นการบันทึกสถานะทางทะเบียนที่ผิด

โดย นางสาวพวงรัตน์ ปฐมสิริรักษ์

http://www.gotoknow.org/posts/521072


๑๑. การบัญญัติกฎหมายสันนิษฐานให้คนเกิดในประเทศซึ่งไม่ได้สัญชาติไทย

เป็นคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย กับพันธกรณีของประเทศไทยตาม ICESC

โดย นางสาวพิมลชญา พานิชวงษ์

ดูที่นี่


๑๒. กระบวนการร้องเรียนกรณีมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของ UN และกระบวนการยื่นข้อร้องเรียน

กรณีมีการละเมิดพันธกรณีตาม ICCPR และ CERD

โดย นางสาวพิมลชญา พานิชวงษ์

ดูที่นี่


ข้อคิดและข้อสังเกตต่อกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม: 

หลักการคุ้มครองเด็ก


๑๓. “หลักเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก” ต่อเรื่องสิทธิอาศัยของคนต่างด้าวเกิดในประเทศไทย

ตามมาตรา 7 ทวิวรรคสาม – หากบิดาและมารดามีสิทธิเข้าเมืองหรือสิทธิอาศัยแตกต่างกัน

โดย นางสาวพิมลชญา พานิชวงษ์

http://www.gotoknow.org/posts/521095


๑๔. ร่างกฎกระทรวงตาม มาตรา ๗ ทวิวรรคสาม กล่าวถึงเด็กไร้รากเหง้าซึ่งเกิดไทยหรือไม่

เราควรทำอย่างไรต่อเด็กกลุ่มนี้

โดย นางสาวพวงรัตน์ ปฐมสิริรักษ์

http://www.gotoknow.org/posts/521074


๑๕. กฎกระทรวงตามมาตรา 7 ทวิ วรรคสาม ควรกำหนดสิทธิอาศัยให้กับเด็กต่างด้าวไร้รากเหง้าที่เกิดในประเทศไทยหรือไม่ อย่างไ

โดย นางสาวพวงรัตน์ ปฐมสิริรักษ์

http://www.gotoknow.org/posts/521121


๑๖. ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับเด็กไร้รากเหง้าในประเทศไทย?

โดย นางสาวปรางค์สิรินทร์ เอนกสุวรรณกุล

http://www.gotoknow.org/posts/521078


ข้อคิดและข้อสังเกตต่อกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม: 

การปฏิรูปกฎหมาย


๑๗. ประเด็นที่จะต้องตัดสินใจ: การจัดการสถานะบุคคลตามกฎหมายการเข้าเมือง

ของคนต่างด้าวที่เกิดในประเทศไทย ตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม ใหม่

โดย รศ. ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตร สายสุนทร

http://www.gotoknow.org/posts/520924


ข้อคิดและข้อสังเกตต่อกฎกระทรวงตามมาตรา ๗ ทวิ วรรคสาม: 

ความเข้าใจต่อกฎหมายสถานะบุคคล


๑๘. ปว. 337 กับ มาตรา 7 ทวิเก่า และ มาตรา 7 ทวิใหม่ เป็นหลักการเดียวกันหรือไม่?

โดย นางสาวศิวนุช สร้อยทอง

http://www.gotoknow.org/posts/521073


๑๙. ประเด็น พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ.2556 ถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ.2508 จริงหรือไม่

โดย นางสาวปรางค์สิรินทร์ เอนกสุวรรณกุล

http://www.gotoknow.org/posts/521081


๒๐. ทะเบียนราษฎรไทยตามมาตรา 36 (ทร.14) เรียกว่า ทะเบียนบ้านคนไทยจริงหรือ?

โดย นางสาวปรางค์สิรินทร์ เอนกสุวรรณกุล

http://www.gotoknow.org/posts/521076


หมายเลขบันทึก: 521059เขียนเมื่อ 1 มีนาคม 2013 14:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 มีนาคม 2013 13:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท