ผลของ...การอ่าน Full text ??


เป็นรางวัล ... เป็นเกียรติยศ ... สำหรับผู้เขียนและครอบครัว

             

             

            

       ความภาคภูมิใจ...ในการเรียน Doctor of Philosophy ... ซึ่งผู้เขียนดีใจ.... พร้อมๆกับความภาคภูมิใจของคนในครอบครัว นะคะ เนื่องจาก
          - ใช้เวลาเรียนและเรียนจบในเวลาเพียง 2 ปี 8 เดือน
          - ได้คะแนนการสอบ Dissertation ด้วย คะแนน 95.6 เป็นเกรด Excellent …. ท่านผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในการสอบ คือ ....ท่าน รศ.ดร.นพ. สิงห์เพชร สุขสมปอง .... หัวหน้า..ภาควิชาสูติ-นรีเวช คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ..... คนเก่งสุดๆ ด้านสูติศาสตร์ ของ รพ. ศิริราช นะคะ
         - จบเป็นคนที่ 1 ของรุ่นที่ 3 (เรียนกัน 12 ท่าน)
       - จบก่อนพี่รุ่น 2 (ตอนนั้นยังไม่มีใครจบเลย) และ จบก่อนพี่รุ่น 1 อีกหลายๆ คน
       - ไม่ได้หมายความว่าผู้เขียนเรียนเก่ง....แต่ผู้เขียน...เป็นคนเรียนอย่างอึด ..... อดทน...มีเป้าหมายที่ชัดเจน...เพราะได้ตั้งเป้าการเรียน...ว่าต้องหางาน Dissertation ที่เราสนใจจะทำและ ต้องอ่านDissertation จำนวนมากๆๆ .... โดยอ่านๆๆ และก็อ่าน ..อ่านจนเข้าใจ....จับ Concept ให้ได้ คือ ทั้ง...การวิเคราะห์และสังเคราะห์ (Analysis and synthesis) ... และส่วนขาด(Gap Analysis... เพื่อให้ได้ผู้เขียนคิดได้ว่า "งานวิจัยเรื่องอะไรที่ยังขาด...ยังไม่มีใครทำหรือยังไม่มีใครคิดModel" เราต้องคิด เราต้องสร้างModelให้ได้ ... (เรียนระดับ ป.เอก ต้องได้ Modelใหม่ๆ ไม่ไปซ้ำกับคนอื่น...ไม่ไปCopyคนอื่นเขานะคะ)

      - Dissertationนั้นต้องสามารถแก้ปัญหาสังคมได้จริงๆ... เรียกว่า เกิดImpact ต่อสังคม หรือ นำไปแก้ปัญหาให้ได้จริ ... เป็นรูปธรรม...เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ... ต่อสังคมได้จริงๆๆ นะคะ

        - และ ผู้เขียน มีความมุ่งมั่นที่สูงมากๆ เพราะ การเรียน Cause work เพียง 2 ปี แต่ผู้เขียน จะต้องอ่านวิจัยของต่างประเทศ ... เพื่อให้ได้ Concept จากการอ่านงานวิจัยนั้นๆให้ได้...และเป็น...งานวิจัยแบบเล่มเต็ม (Full text) จำนวน 500- 600 เล่ม อ่านตลอดปี (8 เดือนนะคะ) ... ก่อนขึ้นสอบดุษ 1 คือ สอบหัวข้อ ดุษฎีนิพนธ์ ... อ่าน Dissertation จากต่างประเทศ ... อ่านแบบ Full-Text จาก University ต่างๆ นะคะ
      - แล้วผู้เขียน...จบด้วยการค้นพบ Model ที่ได้คือ “Teen Moms Care Model” มีองค์ประกอบ ”1D4S” ใช้วิธีศึกษา Mix- Method Methodology ใช้โปรแกรม LISREL ในการวิเคราะห์งานวิจัย ระดับดุษฎีนิพนธ์

      - ผู้เขียนได้รับโล่์ห์ และเข็ม จากท่านอธการบดี .... เป็นการให้เกียรติผู้เขียน นะคะ

 

           

 Thesis Tiltle in English:  A structural equation model development of variables that effect to depression among Thai adolescent pregnancy


Thesis Advisors:   Dr. Wanno Fongsuwan
                          Assistant Professor Dr. Bundit Pungnirund


Degree :          Doctor of Philosophy (Innovative Management)

Keywords:      Development/Structural equation Modeling/Depression/Adolescent Pregnancy

 

             The purposes of this study were to: 1) develop the structural equation model of variables that affect depression among pregnant Thai adolescents; 2) verify how empirical data accords with a structural equation model of variables that affect depression during pregnancy; and 3) study the direct, indirect and total effects of variables influencing depression during the pregnancy of Thai adolescents.
               This study used both quantitative and qualitative methodology and tested by triangulation. The samples were selected by probability theory sampling because due to similar qualifications and homogeneity. The target group for this study consisted of 418 pregnant Thai adolescent girls pregnancies at eight hospitals in Petchaburi province. The data were gathered by questionnaire and in-depth interviews. The girls in the sample group were interviewed by simple random sampling with a focus on five variable that consisted of 1D4S : the exogenous variable was the somatic and medicine support, the mediator variables were self-esteem, social support and stress and the endogenous variable was depression. The computer programs were used to compile and analyze the data.
              The findings from this study revealed the “Teen Moms Care Model” that consisted of “1D4S”. The structural equation model affect depression among Thai adolescent pregnancy was fitted with the empirical data. The somatic and medicine support had a positive direct effect with the coefficient of 0.16 towards depression and a negative indirect effect with the coefficient of 0.14. The self-esteem had not direct effect but indirect and negative total effect with the coefficient of -0.31 and -0.47. The social support had not directed effect but indirect effect and negative total effect with the coefficient of -0.30 and -0.27. The stress had a positive direct effect and positive total effect towards depression with the coefficient of 0.84 and 0.84 at significant level 0.05

 

           

           

           

          

           เมื่อไม่นานมานี้ทางมหาวิทยาลัย ...ได้มอบโล่รางวัลให้ผู้เขียน ....สิ่งนี้เป็นรางวัล ... เป็นเกียรติยศ ... สำหรับผู้เขียนและครอบครัว นะคะ …. ขอบคุณคณาจารย์ทุกท่าน … ขอบคุณ Advisors … Dr. Wanno Fongsuwan, Dr. Bundit Pungnirund …. และ คนในครอบครัวนวรัตน์... คุณหมอ สมพนธ์ นวรัตน์ และ ลูกสาวทั้งคุณหมอ หยุมหยิมและMASATO YU ....ที่ให้กำลังใจคุณแม่มาตลอด 2 ปี 8 เดือน ได้เสียสละเวลา และทุนทรัพย์ จากคุณหมอ สมพนธ์ นะคะ เป็นอะไรๆ ที่เป็น รางวัลชีวิตและเกียรติยศของครอบครัว นวรัตน์ นะคะ

 

         

         

          

          

 

            ขอบคุณที่ให้เกียรติอ่านบทความนี้ นะค่ะ

 

 

         

 

หมายเลขบันทึก: 546226เขียนเมื่อ 22 สิงหาคม 2013 12:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 สิงหาคม 2013 10:26 น. ()สัญญาอนุญาต: ไม่สงวนสิทธิ์ใดๆจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (16)

  ขอแสดงความยินดีครับ...มีความสุข อบอุ่น รอยยิ้มแห่งความปิติ...สุดยอดๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

ขอให้แสดงความยินดีด้วยค่ะ P'Ple

กับความขยัน มุ่งมั่น.. ต้องเอาเป็นแบบอย่างแล้วค่ะ 

-สวัสดีครับ

-ตามมาแสดงความยินดีด้วยนะครับ

-"ไม่ได้หมายความว่า ผู้เขียนเรียนเก่ง .... แต่ผู้เขียน ... เรียนอย่างอึด อดทน เพราะตั้งเป้าว่าหางาน Dissertation ที่เราสนใจจะทำและอ่านมากๆๆ .... โดยอ่านๆๆ และอ่าน ...และผู้เขียน มีความมุ่งมั่นสูง มากๆ"

-ขอน้อมรับป็นแบบอย่างในการครองตน ครองคน ครองงาน ครับพี่ีหมอ..

ขอแสดงความยินดี ...และชื่นชมในความรู้ความสามารถนะคะDr. Ple 

ระยะทางพิสูจน์ม้า กาลเวลาพิสูจน์คน..ทำในสิ่งที่เรารัก ให้ดีที่สุด..ขอแสดงความยินดี และ เป็นกำลังใจ ให้กับ ผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ที่ได้ประสบความสำเร็จ ด้วยความมานะพยายาม..เยี่ยมมากๆครับ..นับถือด้วยความจริงใจ ครับ..

ยอดเยี่ยมมากเลยค่ะ

เป็นตัวอย่างที่ดีและมีคุณค่ากับนักศึกษาMBAอย่างมากเลยค่ะ

ยินดีด้วยอย่างยิ่งนะค่ะ

 

    ขอบคุณทุกๆ ท่านให้เกียรติอ่านและให้กำลังใจ นะคะ 

        

   - ภูคา
   - อ.นุ
   - Wasawat Deemarn
   - ลุงรักชาติราชบุรี
   - เพชรน้ำหนึ่ง
   - นาย เพชร พรหมสูตร์
   - kunrapee
   - ดร. พจนา แย้มนัยนา
   - ณัฏฐวัฒน์
   - Mbapim

 

                

 

 

ขอแสดงความยินดีด้วยค่ะ เป็นตัวอย่างแก่ doctoral students ทุกคนในเรื่องการมุ่งมั่น การค้นคว้าหาความรู้

ความเพียรเพื่อให้ได้งานที่ดีมีคุณภาพ และจบได้ใน 2 ปี 8 เดือน เยี่ยมค่ะ

ยอดเยี่ยมค่ะ....งานวิจัยต้องได้ความคม ชัด ลึก จากการอ่านมาก ๆ จากการอ่าน full text เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งค่ะ..

ขอแสดงความชื่นชมยินดี กับดุษฎีบัณฑิตคนเก่ง "Dr.Ple" นะคะ 

     

ขอแสดงความยินดี ด้วยนะคะ  ดร. เปิ้ล

  ขอแสดงความยินดีด้วยความจริงใจค่ะ Dr.Ple

ทราบไหมคะ ว่าบทความนี้ เป็นแรงบันดาลใจที่ดีที่สุด

ที่ทำให้หนูหาทางออกจากงานวิทยานิพนธ์ได้เจอ

(เพราะเรียนมา 5 ปีแล้ว ไม่จบสักที)

แต่สิ่งหนึ่งที่ได้กำลังใจ ก็คือ ต้องอ่านงานวิจัยของคนอื่น ๆ

เพื่อทราบว่างานของเขา ขาดอะไร มีรูปแบบการวิจัยแบบไหน

ตอนนี้รู้แล้วค่ะ ว่าที่กรอบงานวิจัยของเราไม่ชัด  ทำบทที่ 3 ต่อไม่ได้

เพราะเราอ่านกรอบงานวิจัยจากงานวิทยานิพนธ์อื่น ๆ น้อยเกินไปนั่นเอง

จำนวน 500 - 600 เล่ม ใน 8 เดือน ส่งผลให้จบปริญญาเอกใน 2 ปี 8 เดือน จริง ๆ ค่ะ

ถ้าเป็นสูตร แสดงว่หนูต้องอ่านจำนวน 250 - 300 เล่ม ใน 8 เดือน ถึงจะจบปริญญาโทแบบเข้าใจใช่ไหมคะ

พร้อมจะสู้ค่ะ!!! เป็นกำลังใจให้ด้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท