​กฎของแคมป์เบลล์ กับความฉ้อฉลในวงการศึกษา



หนังสือ ปฏิรูปการศึกษาให้สำเร็จ บทเรียนแนวใหม่จากฟินแลนด์` หน้า ๑๘๐ - ๑๘๑ กล่าวถึง Campbell’s Law ว่า “ยิ่งเราใช้ตัวชี้วัดทางสังคมเชิงปริมาณตัวใดตัวหนึ่งในการตัดสินใจทางสังคมมากเท่าไร ก็ยิ่งเสี่ยงที่ตัวชี้วัดนั้นจะตกอยู่ภายใต้การฉ้อฉล และมีความเป็นไปได้ที่จะไปบิดเบือนและบ่อนทำลายกระบวนการทางสังคมที่มันเองต้องการสอดส่องมากขึ้นเท่านั้น”

การสอบ ONET ของไทย ตกอยู่ใต้กฎนี้แค่ไหน????

การติวสอบอย่างเอาเป็นเอาตาย ทำให้ละทิ้งการปลูกฝังพัฒนาการรอบด้านของเด็ก ถือเป็นการฉ้อฉลหรือไม่?????



วิจารณ์ พานิช

๕ มี.ค. ๖๐


หมายเลขบันทึก: 627339เขียนเมื่อ 9 เมษายน 2017 22:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 เมษายน 2017 22:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

เห็นด้วยเลยครับ อาจารย์หมอ ;)...

This reminds me of the time when I still worked in a government department.

Parkinson's Law: Work expands to fill the time available for its completion definition.
[A proverb coined by the twentieth-century British scholar C. Northcote Parkinson. It points out that people usually take all the time allotted (and frequently more) to accomplish any task.]


And one of its corollary: Work accounted for a key-performance measure gets done just-in-time.

เห็นด้วยครับ การศึกษาไม่ใช่บริษัท KPI หลายตัวใช้ไม่ได้ทางการศึกษา

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท