PBL Process หรือ ขั้นตอนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีอะไรบ้าง



  • set small groups
  • แนะนำตัว
  • แจก scenarios ศัพท์ต้องเข้าใจตรงกัน
  • ดูว่า scenarios ที่ให้มีปัญหา (learning issues) อะไรบ้าง
  • แล้ว brainstorm ดูว่าข้อมูลหรือปัญหาที่เกิดขึ้นในโจทย์ ไม่ต้องมีการ debate ต้องมี flipped chart
  • ที่ list มีเหตุผลไหม เป็นไปได้ไหม สมมุติฐานนี้เป็นอย่างไร
  • ประเมินตนเอง รู้แล้ว ยังไม่รู้ แล้วตั้งเป็น learning issues ซึ่งจะสอดคล้องกับ objectives ที่ผู้สอนตั้งไว้
  • ไปค้นหาข้อมูลความรู้มา ต้องสัมพันธ์กับสมมุติฐานที่ตั้งไว้
  • กลับมารายงานผล เอาความรู้ที่ได้มีอธิบายตามสมมุติฐาน
  • ทั้ง 7 ขั้นตอนนี้ แบ่งเป็น 2 ช่วง small groups
  • ผู้เรียนทุกคนไปอ่านมา แต่ผู้เรียนอาจจะแบ่งกันไปหา
  • learning issues ต้องไม่มากนัก
  • หนึ่ง problem ใช้หนึ่งอาทิตย์ เป็น small groups สองครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง
  • ผู้เรียน discuss ไม่ใช่ lecture ไม่ใช่ให้ผู้เรียนมานั่งอ่านรายงานให้เพื่อนฟัง ไม่ต้องเตรียม powerpoint
  • ฟาต้อง questioning บ่อยๆ แหย่ไปเรื่อยๆ แล้วแนะนำให้ไปให้ใคร อ่านอะไร
  • ส่วน resource persons ไม่ใช่บอกหมด ผู้เรียนต้องอ่านมาก่อน แล้วค่อยมาคุยกัน
  • การใช้ PBL ต้องคุยกันทั้งคณะ
  • คณะแพทย์เป็นนโยบายของคณะ
  • ผ่าน national license ในระดับสูงทีเดียว
  • ปล่อยเขาทำกันไป เป็น trial and error เดี๋ยวผู้เรียนก็ปรับตัวไปเอง
  • ผู้เรียนอ่านไปเรื่อยๆ ถ้าฟาตั้ง scope ไม่ได้ ถามว่าครบไหมค่ะอาจารย์ ผู้เรียนหาข้อมูลแล้วก็มาคุยกับเพื่อน ฟาต้องห้ามยื่นหนังสือมาให้เลยทั้งหมด ไม่ต้องห่วงเพราะ scenario จะออก learning issues มาได้เองในที่สุด
  • เริ่มปี 2 แต่หลังจากมีประสบการณ์ ผู้เรียนในปีถัดๆ ไปจะถนัดการเรียนแบบ PBL ขึ้นเยอะ
  • การ train ครูสำคัญมากในการเป็นฟา
  • ต้องมีห้อง small groups คณะแพทย์มี 30 ห้อง
  • time consuming แต่ผลก็คุ้มกับสิ่งที่เราเสียไป
  • train ผู้เรียนก่อนหนึ่งอาทิตย์ ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ผู้เรียนเป็นหลัก แต่อยู่ที่ทัศนคติของผู้สอนที่ยังเน้นการสอน ผู้เรียนส่วนใหญ่ passive แต่เมื่อผ่านกระบวนไปเรื่อยๆ ผู้เรียนจะเปลี่ยน ล้มลุกคลุกคลานบ้าง เดี๋ยวก็ strong ด้วยตัวเขาเอง
  • หา core groups แล้วดึงเนื้อหาร่วมกันออกมา
  • ทำสักพัก แล้วจึงเปลี่ยนเป็น PBL ทั้ง curriculum
  • หนังสือ 25 ปี PBL ใต้ร่มศรีตรัง คณะแพทย์ กำลังตีพิมพ์อยู่
  • assessment - process ได้จาก discussion, research, participation ประเมินเป็นบุคคลและกลุ่ม
  • assessment - contents ได้จาก MCQ, MAQ modified assay questions จะเป็นซีรี่คำถาม
  • ถ้าจะเปลี่ยนต้อง brain washing ผู้บริหาร
  • Is PBL suit with Thai culture?
  • ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
  • พระพุทธเจ้าหัวแม่มือติดกับนิ้วชี้ คือ create problems first
  • กาลามสูตร เช่น อย่าเชื่อเพราะเขาเป็นครู
  • ถ้าจะทำ ไม่แนะนำให้เปลี่ยนทั้งวิชา วิชาเดียว ขณะที่วิชาอื่นยัง lecture อยู่ ไม่ใช่ทั้งหลักสูตร
  • ควรหาเพื่อนร่วมทาง หาวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกัน ร่วมกันวางแผนทำ PBL



คำสำคัญ (Tags): #pbl
หมายเลขบันทึก: 598107เขียนเมื่อ 4 ธันวาคม 2015 10:23 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 ธันวาคม 2015 14:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

พี่ไม่รู้จริงๆ ว่า PBL ใช้กับเด็กเล็กได้หรือไม่?

อ่านบันทึกไปก็จินตนาการเป็นภาพ PBL ในชั้นอนุบาลไปด้วย

คิดว่าสนุกมากแน่ๆ สำหรับเด็กๆ ที่ยังไม่ติดกรอบ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท