นีนาถ
นาง รัชนีนาถ จารุอดุลย์ แพงพง

ระดูกาล


Seasons

 

 

 

ธรรมะ ใบเหี่ยวแห้ง        ลาง่าเคยงอย

พลอยพรากตามกาละ    เมื่อปลายฤดูแล้ง

ใบอ่อนซอนแซมซ้อน    ยามระดูบานใหม่

ฉันใด คนฮ่วมเชื้อ           กาละให้เปลี่ยนโฉม

 

Salt Lake City, 5 Nov. 2010

หมายเลขบันทึก: 433789เขียนเมื่อ 2 เมษายน 2011 10:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:40 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (15)

สวัสดีค่ะ...พี่นีนาถ...

  • ทำให้ได้ข้อคิดดีค่ะ...
  • ขอบคุณค่ะ...

"กาละตามธรรม คือการปรับเปลี่ยน

เปลี่ยนเพื่ออยู่เพื่อสู้ตามธรรม

ยึดถือทำนองครองธรรมมาน้อมนำ

ตามองค์พระสัมมา คือรักษ์ธรรมชาติ"

 

มักคั๊ก ม่วนหลายครับ ได้ข้อคิด

สวัสดีค่ะคุณ'นีนาถ'

เห็นชื่อบันทึกระดูกาล

น่าสนใจ...อ่านแล้วไม่ผิดหวัง...

แต่อยากให้เขียนมากกว่านี้ค่ะ

 

Ummmmh "ระดู" (menses, women's monthly discharge)???

Perhaps, "ฤดู" (season) is more the Thai word that tells time. ;-)

สวัสดีค่ะน้องบุษยมาศ

ขอบใจน้องมากๆนะคะที่แวะเข้าให้กำลังใจ

ฮักแพง

 

สวัสดีค่ะคุณวอญ่าฯ

ขอบคุณนะคะที่แวะเข้ามาอ่าน..คุณไชสุวัน แพงพง ฝากบอกมาว่าบทกวีของคุณความหมายลึกซึ้งมาก...ชอบค่ะ...ถ้ามีบทอื่นๆที่ยาวกว่านี้ขออนุญาตนำไปแปลเป็นภาษาลาวและโพสต์ใน "สังสันนักกวีลาว" จะได้มั้ยคะ...

http://www.laopoetscorner.blogspot.com/

สบายดีค่ะน้อง ผ.อ.

ดนแล้วเด้อบ่เห็นเข้ามายามพี่เลย...ดีใจหลายที่น้องแวะมาเยี่ยมมื้อนี้...ส่งลูกศิษย์ข้ามฟากสำเร็จไปอีกรุ่นหนึ่งแล้ว ดีใจนำหลายๆ...เห็นพิธีบายศรีสู่ขวัญแล้วค่ะ...

ฮักแพงกันเด้อค่ะ

สวัสดีค่ะ ดร.พจนา

ขอบคุณอาจารย์นะคะที่แวะเข้ามาอ่านและให้กำลังใจ นี่เป็นชุด "กวีสี่แถว" ที่นีนาถขออนุญาตจากสามี(ผู้เขียนเป็นภาษาลาวเวียงจันทน์) แล้วนีนาถเอามาถอดความเป็นภาษาอีสานเขียนด้วยอักษรไทยค่ะ...ส่วนบทกวีที่ยาวกว่านี้และเรื่องสั้นต่างๆ เชิญอาจารย์แวะเข้าไปเยี่ยมที่เว็บต์ข้างล่างนี้นะคะ(ภาษาอังกฤษก็มีค่ะ)

http://www.laoampilotwriter.blogspot.com/

สวัสดีค่ะคุณ sr [IP: 124.187.9.22]

ขอบคุณนะคะที่แวะเข้ามาเยี่ยมและให้คำแนะนำเกี่ยวกับคำศัพท์

1. ต้นฉบับของชุด "กวีสี่แถว" เขียนเป็นภาษาลาวเวียงจันทน์ หัวข้อบทนี้เขียน "ละดู"

2. เมื่อนีนาถนำมาถอดเป็นภาษาอีสานเขียนด้วยอักษรไทย ได้ใช้อ้างอิง "สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ" โดย อาจารย์ ดร. ปรีชา พิณทอง ISBN 974-86984-9-5 หน้าที่ 649 เขียน เป็น " ระดู- ซึ่งแปลว่า ส่วนของปีที่แบ่งตามลักษณะอากาศ.."

3. ถ้าจะเขียนเป็นภาษาไทยกลางจะเขียนเป็น "ฤดู"

4. ละดู(ลาว) หรือ ฤดู (ไทย) ได้มาจากคำศัพท์สันสกฤต  " ริตุ" หรือคำศัพท์บาลี

" อุตุ" ดังนั้นเวลาถอดความจากต้นฉบับภาษาลาว นีนาถจึงได้ใช้ "ระดู" 

 5. ส่วนที่เข้าใจว่ามีความหมาย ถึงเลือดประจำเดือนของสตรีนั้น คงจะไม่กล่าวถึง ไม้ใบแห้ง และใบไม้ผลิที่แตกยอดออกจากกิ่งตามระดูกาล เพราะใบไม้ต่างๆไม่สามารถจะไหลออกจากร่างกายของสตรีได้.

ท่านผู้อ่านจึงควรเข้าใจในความหมายของคำศัพท์ในปริบทนี้...ขอบคุณค่ะ

 

สวัสดีค่ะ อาจารยปณิธิ

ขอบคุณนะคะที่แวะเข้ามามอบดอกไม้กำลังให้นีนาถ สำหรับกวีบทนี้ค่ะ

ฮักแพงกันเด้อค่ะ

 สวัสดีครับ คุณนีนาท

  • คนรุ่นเก่าในเชียงใหม่ ก็ใช้คำว่า ระดู เหมือนกันครับ
  • คน ล้านากับอีสาน มีที่มาของชาติพันธ์ใกล้เคียงกันมาก
  • คำหลาย ๆ คำที่ล้านนา กับ อีสานใช้ เหมือนกันครับ
  • สำหรับบทประพันธ์"ฉันใดคนฮ่วมเชื้อ กาละให้เปลี่ยนโฉม" ผมเปรียบเทียบกับคนในปัจจุบันนี้ว่า"สังคมเปลี่ยน คนต้องเปลี่ยน" หรือตรงกับภาษิตล้านนาว่า"จับใจ๋แฮ้ง บ่แน่นใจ๋ก๋า จับใจ๋ครูบา บ่จับใจ๋พระหน้อย"(ต่างจิตต่างใจ)

สวัสดีค่ะ คุณสนั่น

ขอบคุณที่แวะเข้ามาอ่านและให้ดอกไม้กำลังใจนะคะ

  • สวัสดีค่ะ
  • ชื่นชมในการใชภาษากลอนอันงดงาม
  • และทำให้ได้ความรู้เพิ่มเติมค่ะ

สวัสดีค่ะ อาจารย์ลำดวน

ขอบคุณนะคะที่มอบดอกไม้กำลังใจและแวะเข้ามาเยี่ยม.... นีนาถ(อดีตศน.)ก็ขอส่งกำลังใจถึง ศน.ปัจจุบันนะคะ...

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท