น.เมืองสรวง
เรียนรู้ชุมชน เยี่ยมเยียนชุมชน มุมมองของชุมชน ภูมิรู้ชุมชนและท้องถิ่น นายอำนาจ แสงสุข

2 ชั่วโมง แห่งการเรียนรู้


2 ชั่วโมงแห่งการเรียนรู้และ 7 วันในการใช้ชีวิตที่บ้านบุขี้เหล็ก ต.แสลงพัน อ.ลำปลายมาศ จ.ชัยภูมิ

......บริเวณใต้ถุนศาลาวัดบ้านบุขี้เหล็ก ได้เรียนรู้ถึงกระบวนการ " แผนที่แห่งความคิด " ในการสื่อสารกับชุมชน โดยทางคณาจารย์จากกรมการพัฒนาชุมชน  กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับมูลนิธิพัฒนาชีวิตชนบท ในเครือเจริญโภคภัณฑ์ เมื่อปี 2544/45  ดังนี้ ได้เสนอมุมมอง ดังนี้ ***

**มุมมองผู้ที่เข้าไปร่วมเรียนรู้

1. ชุมชนมีแนวคิดที่เป็นอิสระ ปราศจากการซักจูงจากภายนอกชุมชน

2. ชุมชนมีวิวัฒนาการที่แตกต่างจากสังคมเมืองอย่างเห็นได้ชัดเจน มีการเอื้อเฟื้อแบ่งปัน มีการพัฒนาระบบสหกรณ์ที่เป็นระบบ

3. ชุมชนมีระบบการจัดการ " เรียกว่า " องค์ความรู้ " เพื่อถ่ายทอดถึงภูมิหลัง" ได้อย่างชัดเจน

4.ชุมชนมีประเพณีและวัฒนธรรมที่ดีควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอดเพื่อถ่ายทอดถึงเรื่องราวในอดีตจนถึงปัจจุบัน

5.ชุมชนมีวิถีชีวิตการเป็นอยู่อย่าง " พอเพียง " การเกษตรแบบ " ปลอดสารพิษ " อาทิ ฝักกลางมุ้ง ฯลฯ

.**มุมมองของชาวบ้านที่เห็นโครงการดังกล่าวที่เกิดขึ้น

1.เห็นโอกาสในการ " การจัดการความรู้ " เพื่อถ่ายทอดในชุมชนออกสู่นอกชุมชน มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง

2.ชาวบ้านเกิดการ " รู้รักสามัคคี " มีวิถีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

3.มีจิตใจที่อบอุ่นว่า " คนในเมืองจะไม่ทิ้งคนชนบท"

ที่ขาดโอกาสในการ " ใฝ่ที่จะเรียนรู้ " ถึงหลักการ+ การจัดการ+เทคโนโลยีใหม่ ๆ ขณะที่ชุมชนเขามีภูมิรู้อยู่แล้ว "

คำสำคัญ (Tags): #ของดีจากชุมชน
หมายเลขบันทึก: 40662เขียนเมื่อ 24 กรกฎาคม 2006 18:10 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:26 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
กระบวนการแผนที่ความคิด สื่อสารกับชุมชน มีเนื้อหาวิธีการ กระบวนการอย่างไร?ขออธิบายเพิ่มหน่อยครับ ผมสนใจครับ
     บันทึกนี้ทำให้ผมมองเห็น "โจทย์" สำหรับชุมชน ในแต่ละคราวที่ลงพื้นที่ครับ จะเป็นประโยชน์มาก ขอบคุณมากนะครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท