ทำไม การเล่น "เกมคอมพิวเตอร์" จึง ครอบครองพื้นที่สมองคน มากกว่า "การสอน"


เกม เป็นผลผลิตของระบบทุนนิยม มีเป้าหมายเพื่อเป็นสินค้าเพื่อทำกำไร
เกม เป็นการส่งเสริมการบริโภค ไม่ใช่การส่งเสริมการผลิตในระบบทุนนิยม
เกม นั้นออกแบบให้ผู้เล่นนั้นสำคัญที่สุด (subject) ที่จะบังคับควบคุมผู้เล่นเสมือนในนั้น
เกม นั้นออกแบบให้ผู้เล่นมีเป้าหมายสุดท้ายแบบ PBL คือชนะเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรคทั้งหมดของเกม
เกม ไม่ได้เล่นเพียงครั้งเดียวจะชนะ ต้องมีการทำซ้ำอยู่ตลอดเวลา
เกม นั้นออกแบบให้สนุกและได้รับรางวัลทันที และสิ้นสุดเกมเมื่อแพ้เงื่อนไขของเกม
เกม เป็น Representation แทนตัวตน อัตตา ของผู้เล่น
เกม เป็นเช่นเดียวกับของทุกสิ่งในโลก คือ มีประโยชน์อนันต์ และมีโทษมหันต์

การสอน เป็นผลผลิตของระบบทุนนิยม มีเป้าหมายเพื่อฝึกหัดคนเตรียมการเข้าสู่ระบบทุน
การสอน เป็นการส่งเสริมการบริโภค และ ส่งเสริมการผลิตในระบบทุนนิยมไปพร้อมกัน
การสอน นั้นออกแบบในระดับความสัมพันธ์ในระดับต่ำสุด (objective) ถูกทำให้ไม่สามารถควบคุมบังคับด้วยตัวเอง
การสอน นั้นออกแบบให้เป้าหมายสุดท้าย ต้องฝ่าฟันเงื่อนไขและอุปสรรคอย่างน่าเบื่อหน่าย
การสอน นั้นสอนเพียงครั้งเดียวถือว่ารู้ อาจทำการบ้านบ้างเป็นสองครั้งแล้วก็หยุด ไม่มีใครทำซ้ำจนสำเร็จ
การสอน นั้นออกแบบรางวัลให้เมื่อจบการแข่งขัน และสิ้นสุดเมื่อหมดชั่วโมง
การสอน เป็น Representation แทนอัตตาตัวตน ของครู และอำนาจผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
การสอน เป็นเช่นเดียวกับของทุกสิ่งในโลก


คำสำคัญ (Tags): #เกม
หมายเลขบันทึก: 590349เขียนเมื่อ 18 พฤษภาคม 2015 23:12 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 พฤษภาคม 2015 23:12 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

เกม คือสินค้า ส่งมอบสู่ผู้บริโภค
การสอน ทำให้คนเป็นสินค้าส่งมอบต่อระบบทุน

เล่นเกมแล้วติดเกมกันทุกคน เพราะเขาออกแบบมาให้คนติด เราสามารถเอาชนะการติดได้ แต้เด็กเอาชนะไม่ได้

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท