สุนทรียภาพแห่งการวิจัย


สุนทรียภาพแห่งการวิจัย


          ขอแนะนำบทความวิชาการที่น่าอ่านอย่างยิ่ง เรื่อง สุนทรียภาพแห่งการวิจัย ประสบการณ์ของนักมนุษยศาสตร์ โดย ศ. ดร. เจตนา นาควัชระ อ่านได้ที่นี่

 


วิจารณ์ พานิช
๒๔ ก.ค. ๕๖



หมายเลขบันทึก: 546676เขียนเมื่อ 26 สิงหาคม 2013 14:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 26 สิงหาคม 2013 14:30 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ผมก็คิดเรื่องนี้อยู่ครับอาจารย์

ไปฟังการนำเสนองานวิจัยมาหลายงาน

พบว่างานวิจัยที่เราอยากถกกันเป้นงานวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่าเชิงปริมาณที่เน้นทฤษฎีกับตัวเลข

ทำให้ขาดสุนทรียะ ไม่ส่งเสริมจินตนาการ เพราะมัวจริงจังกับตัวเลข

 

งานวิจัยของมหาวิทยาลัยสงฆ์ส่วนใหญ่จะเป็นเชิงคุณธรรมในอุดมคติ

แม้จะเป็นจริงขึ้นมาไม่ได้ในยุคนี้ แต่ก็งอกงามในความรู้สึก

อาจารย์ขา

มันลามปามมาสายสนับสนุนผู้ให้บริการด้วยแล้วค่ะ ทำให้ต้องอยู่ในภาวะกลืนไม่เข้า คายไม่ออก... เพราะอยู่ในตำแหน่งที่เป็น "ไฟท์กึ่งบังคับ"

...เฮ้อ... กระนั้นก็จะเรียกหา การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ที่ยากที่งานวิจัยจะพร่ำพรรณา... ด้วยมนุษย์ในชีวิตจริงใช้ศิลปศาสตร์ ในการดำรงชีวิตมากกว่า วิทยาศาสตร์ ซะอีก

ขอบคุณค่ะอาจารย์ 

อ้อ... วิจัยเชิงคุณภาพ ก็ทำย๊ากยากค่ะ... 

 ขอบพระคุณมากครับ ผมชอบคำว่า "ทฤษฎีแผ่นดินเกิด"  เพราะมันสอดคล้องกับความเชื่อมั่น และแนวทางที่ผมกำลังยึดถืออยู่พอดี  การเรียนรู้วิจัยที่เน้นบริบท ต้องทำจาก ปฏิบัติไปหาทฤษฎี ไม่ใช่ จากทฤษฎีไป "สวม" หัว มั่วไป ..... อ่านแล้วมีกำลังใจในวิถีนี้ขึ้นมากทีเดียว

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท