“ต้นทุนการผลิตสูง : จุดอ่อนที่เป็นวิกฤติ”
“จากเรื่องเล่าคุณสมหมาย พลอาจ ผ่าน Blog พี่สิงห์ป่าสัก” เมื่อวันที่ 23 ก.ค.49ทำให้ผมมีความเข้าใจมากขึ้น และมีความเห็นที่สอดคล้องครับว่าในการประกอบอาชีพการเกษตรของพี่น้องของเกษตรกรไทย ส่วนใหญ่ต้นทุนการผลิตสูง และมักจะขาดการจดบันทึก ไม่รู้ว่าในสิ่งที่ตนเองทำลงทุนไปเป็นเงินเท่าไหร่ อีกทั้งขายผลผลิตได้เงินมาเท่าไหร่ก็ไม่สามารถตอบได้ และจากการสอบถามส่วนใหญ่จะบอกว่าขายได้เท่าไหร่ก็เอาเท่านั้น
“จุดอ่อนที่เป็นวิกฤติ” การผลิตที่ไม่รู้ต้นทุน (cost) และไม่รู้ว่าตนเองขายได้เท่าไหร่ (income) แต่สุดท้ายมีหนี้สินพร้อมดอกเบี้ย (liability and interest) เกิดขึ้นกับครอบครัวและนับวันจะทวีจำนวนขึ้นเรื่อยๆ นี่เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับสังคมไทยในปัจจุบัน ซึ่งผมเห็นว่าเป็นจุดอ่อน และเป็นวิกฤติขั้นรุนแรง ถึงเวลาแล้วที่นักวิชาการ และนักพัฒนาที่เราจะต้องช่วยเหลือเกษตรกรให้หลุดพ้นจากบ่วงกรรมนี้
“วิกฤตินี้แก้ไขได้อย่างไร” จากปรากฏการณ์ที่หยั่งรากลึกมาช้านานยากนักที่จะแก้ไขให้ได้ในเร็ววัน แต่ก็เป็นเรื่องที่ท้าทาย ในฐานะที่เป็นนักศึกษาปริญญาเอก สาขาพัฒนบูรณาการศาสตร์ (Integral Development Studies) จึงใคร่ขอเสนอแนะแนวทางในการ แก้ไขวิกฤติดังนี้
1. “กระบวนการติดอาวุธทางปัญญา” เป็นการฝึกให้
เกษตรกร ได้คิด ทบทวนในกระบวนการประกอบอาชีพที่ผ่าน
มา ว่าทำอย่างไร จะแก้ไขให้ดีขึ้นได้อย่างไรอาจจะใช้เครื่องมือ
ที่เรียกว่า SWOT Analysis เข้ามาช่วยในกระบวนการตัดสินใจ
ซึ่งเน้นข้อมูลมากกว่าความรู้สึกในการตัดสินใจ
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">2.
“เน้นการผลิตที่เกื้อกูล”
เพื่อเป็นการลดต้นทุนการ</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal"> ผลิตโดยการผลิตที่หลากหลาย
เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน อีก</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">ทั้งลดการนำเข้าปัจจัยการผลิตจากภายนอก
เช่น ปุ๋ยเคมี สาร</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">เคมี และอื่นๆ
ที่ไม่จำเป็น เน้นการผลิตเพื่อทดแทน เช่นปุ๋ย</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">หมัก ปุ๋ยคอก
น้ำหมักชนิดต่างๆ ตลอดทั้งการผลิตที่หลาก</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">หลายจะสามารถลดความเสี่ยงด้านการตลาดได้
อีกทั้งมีรายได้</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">หมุนเวียนตลอดทั้งปี
และเน้นการปลูกทุกอย่างที่ตนเองกิน</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">และกินทุกอย่างที่ตนเองปลูก
(ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง)</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">ที่เหลือนำไปขายเพื่อนำรายได้เข้าครอบครัว</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">3. “เน้นกระบวนการคิดเป็นตัวเลข”
ส่งเสริมและฝึก</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">ให้เกษตรได้ฝึกคิดและทำการบันทึกรายรับ-รายจ่าย
ที่เกิดขึ้น</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">ในครอบครัว
(บัญชีครัวเรือน) ซึ่งจะสามารถวิเคราะห์ถึงต้น</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">ทุน
–กำไรของตนเองได้
เมื่อเกษตรกรเห็นตัวเลขที่แท้จริง ที่</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">เกิดขึ้นในครัวเรือนผมเชื่อเหลือเกินว่าจะเป็นแรงกระตุ้นให้</p>
เกิดการเปลี่ยนแปลง
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 36pt" class="MsoNormal">
4.
“เน้นกระบวนการออมที่เกิดรายได้”
ในการออมนั้นมีหลากหลายรูปแบบ
แล้วจะออมอย่างไรล่ะที่เกิดรายได้อย่างสัมบูรณ์
เพื่อเป็นแรงจูงใจในการออม เช่น ฝากกับธนาคาร ตั้งเป็นกลุ่ม
หรือสหกรณ์ เป็นต้น
เพื่อให้เขาได้เห็นความสำคัญและความจำเป็นในเรื่องของเงินออม</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">5. “ส่งเสริมสวัสดิการชุมชน”
เมื่อเกษตรกรสามารถที่</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">จะพึ่งตนเองได้แล้ว
ควรจัดให้มีสวัสดิการชุมชน เพื่อเชื่อม</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">โยงกระบวนการผลิต
และสวัสดิการให้เกิดขึ้นในชุมชน ใน</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">การดูแลสมาชิกของชุมชนเมื่อคราวจำเป็น
เช่น เจ็บไข้ได้ป่วย</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 0pt 84pt; text-indent: -48pt; tab-stops: list 84.0pt" class="MsoNormal">หรือตาย
เป็นต้น</p>
อุทัย อันพิมพ์
24 ก.ค.2549
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร.อุทัย อันพิมพ์ ใน เกษตรประณีต
ดีมากที่มามองมุมนี้ แต่อยากให้ระวังว่า ก่อนจะจัดการกับปัญหาภายนอก ต้องมาจัดการกับปัญหาภายในเสียก่อน นั่นก็คือกิเลศ โลภ โกรธ หลง ที่ทำให้ความรู้และงานเดินผิดทางและมีปัญหาต่างๆตามมาเป็นพรวน ความรู้ที่สร้างบนกิเลศกับความรู้ที่สะอาดจะต่างกันโดยสิ้นเชิง ต้องอยู่กับธรรมชาติ จึงจะรอด