Outcome Based Education และ ประชุมแพทยศาสตรศึกษาครั้งที่ 10 รพ.พระมงกุฏเกล้า 18-20 พย.2552


Outcome Based Education และ ประชุมแพทยศาสตรศึกษาครั้งที่ 10 รพ.พระมงกุฏเกล้า 18-20 พย.2552

การประชุมแพทยศาสตรศึกษา ครั้งที่ 10

กสพท สถาบันผลิตแพทย์ และ CPIRD ที รพ.พระมงกุฏ 18-20 พย.2552

คำกล่าวเปิดโดย นพ.อาวุธ ศรีศุกรี

Base Practice of Medical Education in Net Generation


 

จุฬา (2545) ขอนแก่น และมหาวิทยาลัยอีกหลายแห่ง

ได้มีหลักสูตรใช้ผลลัพท์ปลายทางเป็นฐาน Outcome Based Curriculum

2545 = Outcome Based Curriculum

2537 = Integrated Curriculum

วันนี้ผมเอากล่องเก็บ CD/DVD มาที่ทำงาน ค้นหา AMEE 2005

จัดที่ Amsterdam มีพูดถึง Outcome Based Education

เมื่อ 2005 (2548) นั้น รพ.พุทธชินราชก็ไปกันหลายคน

แต่ผมไป พร้อมกับกับ นพ.ธีระศักดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรมสังคม นครสวรรค์

ผมเสนอผลงานเป็น Poster เรื่อง Rubric และ Formative Assessment (AMEE 2005)

ได้รับสนับสนุนทุน จาก สบพช. (CPIRD) และได้ไปฟังเรื่อง PBL ที่ Maastritch University ด้วย
 
ถอยกลับไปอีก 1 ปี AMEE 2004 (2547) ก็มีพูดถึง Outcome Based Education

ในภาพคือ Keynote Speaker, Prof Harden กำลังพูดถึงเรื่องนี้ด้วย

Slide ของ Prof. Harden มักจะเป็น ภาพเขียนด้วยสีน้ำ (Water color pictures)

นอกจากเป็นแหล่งความรู้แล้วภาพวาดยังสวยน่าสนใจมาก

The Great Jungle Race, Prof.Harden, AMEE 2004 (Edinburgh, Scotland)

ที่เข้าเส้นชัยมี เสือ ลิง ช้าง ยีราฟ

แต่ละคนก็มีวิธีที่จะไปให้ถึงเส้นชัย ทีแรกกวางวิ่งนำก่อนเลย

กวางไปเจอแม่น้ำขวางทางอยู่ ช้างก็ไปเจอรอยแยกเป็นเหวลึกจึงไปต่อไม่ได้ 

แต่ว่าลิงไต่ต้นไม้ไปดูเส้นทางก่อน ยีราฟคอยาวมองเห็นเส้นทาง เสือมีแผนที่

ลิง ยีราฟ และเสือ จึงไปถึงเส้นชัยได้

ทีแรกกวางวิ่งนำก่อนเลย แต่ก็มีอุปสรรคไปไม่ได้ไกล Prof.Harden (AMEE 2004 Edinburgh, Scotland).

 

ลิงไต่ต้นไม้ไปดูเส้นทาง Prof.Harden (AMEE 2004 Edinburgh, Scotland).

 

เสือมีแผนที่    ลิง ยีราฟ และเสือ จึงเข้าเส้นชัยได้ Prof.Harden (AMEE 2004 Edinburgh, Scotland).

The Great Jungle Race, Prof.Harden (AMEE 2004 Edinburgh, Scotland).

ที่เส้นสตาร์ตมี ลิง ยีราฟ เสือ ช้าง และกวาง  แต่ ที่เข้าเส้นชัยมี ลิง ยีราฟ เสือ  

(ศ.นพ.ทองจันทร์ หงศลดารมภ์ ได้เสนอหลักสูตรใหม่ (Outcome Based Curriculum)

ของคณะแพทย์ ม.นเรศวร แทนฉบับปรับปรุง 2538 ในปี 2547

ต่อแพทยสภาและได้รับอนุมัติในปี 2549

เมื่อตอนนั้นท่านอาจารย์เคยเล่าว่า "ถ้าจะสร้างเครื่องบิน จะให้บินเร็วด้วย บรรทุกได้มากๆด้วย จุเชื่อ

เพลิงมากๆด้วย บินได้ไกลไม่ต้องแวะเติมน้ำมันด้วย เครืองบินคงจะหนักมากจนบินขึ้นไม่ได้ 

คงต้องดูว่าจะให้นิสิตแพทย์ เรียนอะไรจะให้ รู้อะไรทำอะไร จะไปทำงานที่ใหน แล้วจึงวางแผนการสอน

การประเมิน"  


เมื่อปี 2547 นพ.นภดล ซึ่งไปช่วย คณบดีคณะสาธารณสุข ม.นเรศวร (นพ.ไพจิตร ปวะบุตร)

ด้านงานคอมพิวเตอร์ และ ทญ.อารีย์ ผู้ช่วยคณบดีคณะสาธารณสุข ม.นเรศวรด้านงานวิชาการ

ไปนำเสนอ Poster เรือง  Rubric และ Rating Scale (AMEE 2004)

ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะสาธารณสุข ม.นเรศวร

Association of Mediccal Education Europe (AMEE 2004 Edinburgh. Scotland).

คำสำคัญ (Tags): #outcome based education
หมายเลขบันทึก: 316177เขียนเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2009 02:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 21:57 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

สวัสดีค่ะคุณหมอ มาหาความรู้เพิ่มเติมค่ะ

ขอบคุณครับคุณวันเพ็ญ

 

 

อีกเรืองหนึ่งจาก Melisa Piaseck M.D. University of Nevada

คือตอน ที่เรากำลังต้องการจะพยายามตอบคำถามแต่เราก็ยังไม่เจอคำตอบนั้น

เราเรียนรู้จากตอนที่ยังไม่เจอคำตอบได้มากเลย

และ  Objective Specific and Measurable

Engagement = The Fuel for how we get there.

Knowing When you are off the right path

GPS = Feedback

แต่ว่าแผนที่ใน ยุค Net Generation เป็น GPS

ไม่ใช่แผนที่กระดาษ แบบที่เสือใช้อยู่ แบบในรูปข้างบน แล้วนะครับ


อ่านเรื่อง GPS เพิ่มได้ที่นี่ครับ

Linkto: Global Positioning System (GPS), Spatial Epidemiology

http://gotoknow.org/blog/epistat/268290
 

Engagement

"The most important principle is that the

learner be fully engaged..."  Ruby Kidd, How Adults learn (1959).

Essential Medical Education
Techniques: Roadmaps to Learning

Melisa Piaseck M.D. University of Nevada


While we teach, we learn

ซึ่ง สอดคล้องตรงกันกับ ที่ ศ.นพ.วราวุธ สุมาวงศ์

ได้เคยเล่าให้ กลุ่มแพทย์ ของ รพ.พุทธชินราช  (2537)

ว่าในขณะที่นิสิต ได้เรียน Cognitive, Affective และ  Psychomotor นั้น

อาจารย์ก็จะได้เรียนรู้ไปพร้อมกันกับนิสิตด้วย

ท่านอาจารย์ วราวุธ เล่า ในการประชุม CPIRD 2009 พัทยา ว่า

สอนความรู้ทฤษฏีคือ ให้นิสิตคิด

สอนปฏิบ้ติคือ ให้นิสิตทำ


สอนอย่างไรให้เป็นหมอที่เก่ง เป็นคนดี


มีคุณธรรม และมีความสุข ใน "ยุคเนท"

Bloom's Taxonomy of Learning Domains
The Three Types of Learning

There is more than one type of learning.
A committee of colleges, led by Benjamin Bloom (1956),
identified three domains of educational activities:

Cognitive: mental skills (Knowledge)
Affective: growth in feelings or emotional areas (Attitude)
Psychomotor: manual or physical skills (Skills)

Source: http://www.nwlink.com/~Donclark/hrd/bloom.html

 

 

The 12 Roles of the Teacher

(Prof.Harden)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท