2. นำมาใส่กระบอกแม่แบบ ซึ่งอาจนำมาจากท่อเหล็กหรือท่อพีวีซี มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
3-4 ซม.เหล็กกระทุ้ง ควรเป็นเหล็กกลม มีปลายทู่ ยาวกว่ากระบอกแม่แบบพอประมาณและควรทำปลายของเหล็กกระทุ้งเป็นรูปตัวที เพื่อสะดวกในการจับ
3. เติมวัตถุดิบลงในกระบอก แล้วใช้แท่งเหล็กดันหรือกระแทก จากนั้นคว่ำปากกระบอกและ
ใช้แท่งเหล็กดันถ่านอัดแท่งออกมา
4. นำไปทำให้แห้งโดยตากแดด หรือใช้ความร้อนของเชื้อเพลิง
คุณสมบัติของถ่านอัดแท่ง
ไม่มีกลิ่น ไม่มีควัน ไม่แตกประทุ ขี้เถ้าไม่ฟุ้งกระจาย ไม่ทำลายสุขภาพให้ความร้อนสม่ำเสมอและทนทาน ใช้งานได้มากกว่าถ่านไม้ธรรมดา
การเก็บรักษา
ควรเก็บใส่ถุงพลาสติก รัดปากถุงให้แน่นหรือปิดปากถุงให้สนิท เพื่อป้องกันความชื้นเข้าและเก็บไว้ในที่แห้ง
วิวัฒนาการของเครื่องอัดถ่าน
สวัสดีค่ะ
* ชื่อบันทึกถ่านไม้กู้ชีพ....ถูกใจจังเลยค่ะ
* นำของเหลือใช้ทิ้งแล้วมาใช้ประโยชน์อย่างปลอดภัยและประหยัดทรัพยากร
* ขอบคุณเรื่องราวดีและวิทยากรที่สอนเด็กๆ ด้วยค่ะ
* สุขกายสุขใจนะคะ
@ สวัสดีครับ
@ เคยเห็นเขาใช้ในร้านหมูกระทะ ไม่มีกลิ่น ไม่มีควัน ไม่แตกประทุ ดีมากเลย
@ กลับบ้านไปมีแต่กลิ่น หมู กับกุ้งไหม้ครับ...อิอิ
เก่งจังค่ะ...
ไม่มีกลิ่น ไม่มีควัน ไม่แตกประทุ
เด็ก ๆ คงสนุกกันนะค๊ะ
สวัสดีครับ
สิ่งที่อยู่รอบๆคัวเราล้วนมีประโยชน์ ทั้งนี้อยู่ที่ภูมิปัญญา
ขอบคุณมากครับ
ขอบคุณที่แวะมาทักทายค่ะ
มีสิ่งดีๆ สุขภาพแข็งแรง นะคะ
ขอบคุณที่แวะมาทักทาย
สุขภาพแข็งแรง นะคะ
สวัสดีค่ะ
สบายดีนะคะ
ขอสิ่งดีๆ มีในทุกๆวัน นะคะ
ขอบคุณค่ะ
เด็กๆสนุกตอนลองทำ
มีสิ่งดีๆเสมอๆนะคะ
ขอบคุณค่ะ
สิ่งรอบตัว ล้วนมีค่ายิ่ง
ขอบคุณค่ะ
รักษาสุขภาพนะคะ
แวะไปแล้วนะคะ
มีสิ่งดีๆเสมอๆนะคะ
ขอบคุณค่ะ
อยากรู้ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องอัดถ่านที่นักเรียนกำลังทำอยู่ครับช่วยติดต่อกับเมลนี้เลยนะครับ chowkoh_wee@hotmail.com
อยากทราบว่า เหล็กอัดถ่านหาซื้อได้ที่ไหนครับ หรือมีวิธีการทำอย่างไรครับ เพราะสนใจอยากนำโครงการนี้มาใช้ที่หมู่บ้านเหมือนกัน