ทุนสังคมในท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม


มี ๙ กลุ่ม
ทุนสังคมในท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
ในการวิจัยบูรณาการลุ่มน้ำท่าจีน-แม่กลอง    โครงการย่อย องค์ความรู้ด้านศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ได้ข้อสรุปกระบวนการดำเนินงานและผลการดำเนินงานทั้ง 9 กลุ่มคือ
1.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายสื่อเพื่อการเรียนรู้
2.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายศาสนาในจังหวัดนครปฐม
3.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายการศึกษาในจังหวัดนครปฐม
4.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายวัฒนธรรมและดนตรีในจังหวัดนครปฐม
5.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายท่องเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงสุขภาพในจังหวัดนครปฐม
6.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายนักธุรกิจในจังหวัดนครปฐม
7.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายการบังคับใช้กฎหมายในจังหวัดนครปฐม
8.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืนเพื่อสุขสาธารณะในจังหวัดนครปฐม
9.      ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายสุขภาวะในจังหวัดนครปฐม
ผลการศึกษาของแต่ละกลุ่มสามารถสรุปได้ดังนี้
1. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายสื่อเพื่อการเรียนรู้ทางสังคมในจังหวัดนครปฐม
ประกอบด้วย
1.1  เครือข่ายการศึกษามวลชนและการเรียนรู้นอกระบบ
1.2  เครือข่ายการประชาสัมพันธ์ของภาคราชการในจังหวัด
1.3  โรงภาพยนตร์
1.4  โต๊ะจีนและการจัดงานประเพณี  
1.5  วิทยุชุมชนเพื่อการเรียนรู้ของภาคสาธารณะ
1.6  การจัดกิจกรรมเพื่อสาธารณะของหน่วยงานและกลุ่มทางสังคมต่างๆ
1.7  สถาบันการศึกษาและบทบาทการสร้างบุคลากรด้านสื่อ
1.8  หนังสือพิมพ์และสื่อมวลชน
1.9  กลุ่มคนและปัจเจกบุคคลที่มีความสามารถทางด้านสื่อและกระบวนการเรียนรู้ของสังคม
2. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายศาสนาในจังหวัดนครปฐม

      2.1 ศาสนาพุทธ

     2.2 ศาสนาคริสต์คาทอลิก

     2.3 ศาสนาอิสลาม
3. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายการศึกษาในจังหวัดนครปฐม
     3.1 ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม  มีเครือข่ายทุนด้านการศึกษา ทางด้านทุนมนุษย์ ได้แก่ ครู อาจารย์         นักเรียน  และผู้ปกครองในชุมชน  ซึ่งมีศักยภาพหลากหลายด้านเพื่อนำไปสู่การพัฒนาสมรรถนะด้านการเรียนรู้แก่ผู้เรียน
    3.2 กระบวนการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการสร้างศักยภาพทุนด้านการศึกษา คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในเครือข่าย
    3.3 การถอดบทเรียน
    3.4 การจัดกระบวนการเรียนรู้ของการศึกษาในระบบโรงเรียน ที่ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพ
 4. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายวัฒนธรรมดนตรี ในจังหวัดนครปฐม
4.1 ศักยภาพด้านทุนดนตรีของชาวไทยทรงดำ จังหวัดนครปฐม
4.2 ศักยภาพด้านทุนดนตรีไทย
5. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายท่องเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงสุขภาพในจังหวัดนครปฐม
5.1 ศักยภาพทุนท่องเที่ยวเชิงนิเวศและสุขภาพในจังหวัดนครปฐม

            5.2  กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของประชาชนด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและสุขภาพในจังหวัด

                   นครปฐม

6. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายนักธุรกิจอุตสาหกรรมในจังหวัดนครปฐม

7.ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายการบังคับใช้กฎหมายในจังหวัดนครปฐม

8. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืน เพื่อสุขสาธารณะในจังหวัดนครปฐม  
8.1 มิติด้านทุนมนุษย์ 
8.2 มิติด้านทุนเศรษฐกิจ
8.3 มิติด้านทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
8.4 มิติด้านทุนทางนิเวศ 
9. ศักยภาพด้านทุนและเครือข่ายสุขภาวะในจังหวัดนครปฐม
9.1  สภาพของการเข้าถึงบริการสุขภาพและการจัดกำลังคนตามระบบข้อมูลภูมิศาสตร์
9.2  การบูรณาการการดูแลสุขภาพ
9.3  การสร้างเครือข่ายพันธมิตรสุขภาพ
9.4  ทุนชุมชนรากฐานของการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
โครงการย่อยนี้มี รศ. ดร. เนาวรัตน์ พลายน้อย เป็นหัวหน้าโครงการ     ผมเห็นว่ามีการวิเคราะห์ทุนทางสังคมที่น่าสนใจ จึงคัดลอกเฉพาะหัวข้อมาเล่าไว้    ไม่ได้เอารายละเอียดมาด้วย เพราะจะยาวมาก    ที่จริงส่วนรายละเอียดเป็นส่วนที่มีค่ามาก เพราะเป็น intangible assets ของท้องถิ่นนครปฐมอย่างแท้จริง    เรื่อง intangible assets นี้ จะมีหรือไม่มี    มีมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับมุมมอง    และการเอามาสร้างคุณค่าและมูลค่า     ผู้สนใจน่าจะติดต่อขอได้ที่ www.transteam.org
วิจารณ์ พานิช
๑ กค. ๔๘
หมายเลขบันทึก: 2177เขียนเมื่อ 6 สิงหาคม 2005 19:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 16:29 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท