หลากหลาย ให้หล่อหลอม


Vision นั้นสามารถนำไปสู่คำตอบว่า จะทำอย่างไร? (How to)และสุดท้ายได้ผลลัพธ์ของการทำงานที่เสร็จและสำเร็จ “เข้าถึง เข้าใจ และพัฒนา”
<p class="MsoNormal"><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; color: maroon">ผมได้รับโทรศัพท์จาก <strong><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">นายก อบต.ปางมะผ้า คุณสุทัศน์ เดชทรงชัย</span></strong> เชิญไปเข้าร่วมประชุมแผน ของ <strong>อบต.ปางมะผ้า</strong> (อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน) ซึ่งเป็นแผน ๕ ปี และร่วมกันจัดทำ<strong><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">ยุทธศาสตร์การทำงานที่สอดคล้องกับชุมชนที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลายในพื้นที่</span></strong> ถึงแม้ผมจะไม่อยู่ในพื้นที่และออกจากระบบราชการไปแล้ว แต่ยินดีเป็นอย่างยิ่งในการร่วมกันคิดเรื่องดีๆในครั้งนี้</span><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; color: maroon"></span></p>    <p class="MsoNormal"><strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; color: blue">วิธีคิด</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; color: blue">ของนายก อบต. ท่านนี้ ท่านมาจากนักพัฒนาองค์กรภาคเอกชน และเคยเป็นนักวิจัย นายกสุทัศน์ได้จุดประกายสิ่งดีๆขึ้นในพื้นที่มากมาย <span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">บนพื้นฐานการคิดงานจากสภาพปัญหาชุมชนที่ผ่านการสังเคราะห์แล้วอย่างเป็นระบบ ส่วนใหญ่ท่านจะเน้นเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ถูกละเลยไป</span> ซึ่งวิธีคิดแบบนี้หายากในการทำงานในรูปแบบ อบต.ทั่วไป</span></p>    <p class="MsoNormal"><strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">นายกสุทัศน์</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"> เคยเกริ่นกับผมหลายครั้ง ในเรื่อง <strong>การทำแผนฯ</strong> ที่จะช่วยพัฒนาตำบลและที่สำคัญเป็นความสอดคล้อง ต้องการของคนในพื้นที่ </span><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"></span></p>    <p class="MsoNormal"><strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">การประชุมครั้งนี้ เป็นการรวมเอานักพัฒนาที่หลากหลาย</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"> <span style="background: aqua none repeat scroll 0% 50%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">นับตั้งแต่กูรูใหญ่ของภาคประชาสังคมแม่ฮ่องสอน นักพัฒนาที่เป็นนักมานุษยวิทยา สังคมวิทยา ผู้คนจากภาครัฐที่<strong>มีใจ</strong>และเข้าใจแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน อาจเป็นเวทีที่ไม่ใหญ่นัก มีผู้เข้าร่วมไม่เกิน ๒๐ ท่าน</span></span><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"></span></p>    <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">ส่วนผม <strong>นายกสุทัศน์</strong> ให้ช่วยดูเรื่อง </span><strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; color: blue">“<span>การพัฒนาทางด้านสุขภาพของชุมชน</span>”</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"> ซึ่งนายกท่านได้บอกแนวคิดท่านว่า <strong><span style="color: blue">อยากจะพัฒนาคนให้มีสุขภาพดีที่สอดคล้องกับวิถีกลุ่มชาติพันธ์ ขอเป็นการพัฒนาตั้งแต่เด็กอยู่ในครรภ์</span></strong> <span> </span>เพราะที่ผ่านมาการพัฒนาสุขภาพชุมชนของภาครัฐ ยังพัฒนาไม่ได้ครอบคลุมมากนักอาจเป็นเหตุผลหลายประการที่เป็นข้อจำกัดขององค์ประกอบที่เป็นบริบทของพื้นที่ และนโยบายของภาครัฐเอง</span><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"></span></p>    <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">ผมเคยทำงานประเด็น </span><strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">“<span>การพัฒนาสมอง</span>”</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">(</span><strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">B</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">rian <strong>B</strong>ased <strong>L</strong>earning<span>) ในพื้นที่ อ.ปางมะผ้า เมื่อปีกลาย ซึ่งผมก็มองว่า <strong><span style="color: blue">สมองพัฒนาได้ และหากจะพัฒนาเด็กปางมะผ้าให้ฉลาดไม่โง่ เราสามารถทำได้ แต่ต้องระยะยาว</span></strong> ซึ่งกระบวนการต่างๆทางองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่กำลังดำเนินการอยู่...ก็คิดว่างานเหล่านี้นำมาเชื่อมกับ อบต.ได้ เช่น <strong><span style="color: green">การส่งพี่เลี้ยงศูนย์เด็ก(ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญ)พัฒนาศักยภาพเพื่อมาทำงานให้กับชุมชน โดยใช้งบของ อบต.</span></strong></span></span></p><blockquote><blockquote><p class="MsoNormal"><img src="http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/037/782/original_rar.JPG?1285464752" border="0" align="middle"> </p></blockquote></blockquote>    <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma">เวทีนี้เป็นหนึ่งตัวอย่างของ </span><strong><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">“<span>ความหลากหลาย</span>”</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"> <span> </span>และผมคิดเอาเองว่าจะ </span><strong><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">“<span>หล่อหลอม</span>”</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"> เพราะดูจากรายชื่อผู้เข้าร่วมเวทีแล้ว เป็นนักพัฒนาที่คุ้นหน้า เห็นกันในเวทีใหญ่ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน...</span><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"></span></p>    <p class="MsoNormal"><span style="background: silver none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">หากเวทีเล็กๆที่ อ.ปางมะผ้า </span><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">เป็นการ<strong>สื่อสารระบบเปิด</strong>(</span><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">open system<span>)เป็นจุดเริ่มต้นของการหลอมรวมแนวคิดดีๆเพื่อการ </span><strong>“<span>ขับเคลื่อน</span>”</strong><span> พัฒนาชุมชนแล้ว งานพัฒนาที่เป็นรูปแบบเปิดโอกาสให้คนมีใจทำกันเต็มที่ <strong>บนพื้นฐานสังคมการเท่าเทียมกัน (</strong></span><strong>equal basis<span>)</span></strong><span>การยอมรับซึ่งกันและกัน บนพื้นฐานการยอมรับศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์</span></span></p>    <p class="MsoNormal"><span style="background: silver none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">... </span><strong><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">Vision <span>นั้นสามารถนำไปสู่คำตอบว่า จะทำอย่างไร</span>? (How to)</span></strong><span style="background: silver none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">และสุดท้ายได้ผลลัพธ์ของการทำงานที่เสร็จและสำเร็จ </span><strong><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">“<span>เข้าถึง เข้าใจ และพัฒนา</span>”</span></strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"></span></p>  <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"> </span></p>  <p class="MsoNormal"><strong><span style="background: yellow none repeat scroll 0% 50%; font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial">ครั้งนี้ถือว่าเป็นนิมิตหมายอันดี ครับ</span></strong><strong><span style="font-size: 11.5pt; font-family: Tahoma"></span></strong></p>
หมายเลขบันทึก: 55211เขียนเมื่อ 20 ตุลาคม 2006 09:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:35 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (17)

น่าชื่นชมความคิดของท่านนายกเป็นอย่างยิ่ง ผู้นำชุมชนมีแนวคิดอย่างท่านนั้นหายาก ...

การระดมความคิดที่ช่วยกันยกระดับคุณภาพชีวิต และมีกลุ่มคนที่เห็นความสำคัญ มีความหลากหลายทางความคิดที่ต้องการพัฒนาอย่างแท้จริง

สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจ คือ การส่งพี่เลี้ยงในศูนย์เด็กเล็กเข้าอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนั้น เป็นความคิดที่ดีมาก ๆ ค่ะ เพราะคิดว่า การเริ่มต้น จากสิ่ง ดี ๆ สิ่งที่มีคุณภาพที่เริ่มจากเด็ก ๆ หรือเริ่มจากครรภ์ของแม่ก็ยิ่งดีเข้าไปอีก เมื่อเด็กได้รับการบ่มเพาะจากคนที่มีศักยภาพโดยเฉพาะครูผู้ดูแลเด็กแล้ว เชื่อว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดี

ตอนนี้ทาง 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ก็กำลังอบรมผู้ดูแลเด็กในลักษณะอย่างนี้เช่นกัน

 

คุณ Chah

คุณchah เป็นแฟนประจำBlog ที่เหนียวแน่นคนหนึ่งครับ ขอบคุณสำหรับการให้ความคิดเห็นที่เป็นพลังบวกอย่างแท้จริง

ผมเองก็ชื่นชม ท่าน นายก อบต.ท่านนี้ครับ ดังนั้นแล้ว ผมไม่ปฏิเสธในการเข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้

มีอะไรจากเวทีประชุมผมจะนำมาเขียนบันทึกต่อครับ 

........................................

ขอบคุณครับ 

 

อาจารย์ค่ะ

chah คงไม่ได้ตามบทความของอาจารย์บ่อยมากหรอกค่ะ ...หากช่วงไหนลงพื้นที่เป็นสัปดาห์หรือมีประชุมต่างจังหวัดก็คงไม่ได้เปิดดูบทความ เพราะไม่สะดวก

...ติดใจนิดเดียวค่ะอาจารย์ ลืมบอกว่า "สถานที่ประชุมนั้น เหมือนเป็นบรรยากาศแถว จ.พังงา เลยค่ะ"

คุณ Chah

ขอบคุณครับที่ติดตามและให้ข้อเสนอแนะ

สถานที่เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งในแม่ฮ่องสอนครับ

ขอบคุณครับ 

สวัสดีค่ะคุณเอก

  • ครูอ้อยเป็นครูไม่ได้เป็นนักพัฒนาชนบท
  • แต่ครูอ้อยก็สามารถนำแนวความคิดที่คุณเอกนำมาเขียนบันทึกได้นะคะ
  • ตั้งแต่ชื่อบันทึกค่ะ  ครูอ้อยชอบมาก  มีความหมายจะขอยืมไปใช้นะคะ
  • อีกอย่างหนึ่ง  คือการมีผู้นำที่ดี  ครูอ้อยจะฝึกการเป็นผู้นำที่ดีค่ะ
  • โดยเฉพาะการยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  และให้เกียรติผู้อื่น  ครูอ้อยจะนำไปสั่งสมกับนักเรียนน้อยๆของครูอ้อย  จะได้ไม่เติบโตขึ้นมา  ข่มเหงคนอื่นแบบที่ครูอ้อยพบเห็นเวลานี้ค่ะ

ขอบคุณนะคะคุณเอก  บันทึกดีๆมีสาระมีที่นี่ค่ะ

การสื่อสารระบบเปิด และชื่นชมซึ่งกันและกัน ขอขอบคุณครูอ้อยมากครับที่มีให้ผมตลอด

.............

ผมมาเปิดบันทึกกะว่าจะบันทึกสัก ๑ เรื่อง อีก ประมาณชั่วโมงผมจะไปหาพี่ Nidnoi ได้นัดพี่เขาไว้ที่ร้านกาแฟ All about Coffee ที่ปายในเช้าวันนี้ครับ

..............

ครูอ้อยครับ ผมมีโอกาสที่ดี และผมก็ให้โอกาสตัวเองที่จะฝึกฝนตนเอง เพื่อทำประโยชน์ให้กับสังคมมาก ตามกำลังความรู้ความสามารถที่มีครับ

ผมเชื่อในพลังของความตั้งใจจริง และเห็นความสวยงามของความหลากหลาย ผมเห็นพลังที่มากมายอยู่ในนั้น

ขอบคุณครูอ้อยมากนะครับ 

ชอบบรรยากาศ การประชุมจังเลย คงอบอุ่นดีเนาะ

คุณกาเหว่า 

เป็นภาพการประชุมงานอื่นครับ เป็นงานประชุมงานวิจัยในหมู่บ้านท่องเที่ยวที่แม่ฮ่องสอน สบายๆ ผ่อนคลาย แต่อบอุ่นครับ

ผมเอามาประกอบบันทึกครับ

การประชุมที่เขียนในบันทึกเราจะประชุมกัน ที่ อบต.ปางมะผ้า วันที่ ๒๖ ต.ค.๔๙  นี้ครับ

 

ดีจังค่ะ ถ้าได้รวมพลังที่มีอยู่หลากหลายสาขาของ ชุมชนเข้ามาร่วมกันคิด ในสิ่งที่ตัวเองมีทักษะ เพิ่มพูนความรู้ให้รอบด้านขึ้น ก็จะช่วยกันสร้างสังคมที่อบอุ่น แข็งแรง และมีความสุขได้ทีเดียวนะคะ

ถ้าในแง่ของการส่งเสริมสุขภาพก็คือ ควรจะมีการสร้างสังคมที่มี การสร้างเสริมทั้ง สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคม และจิตวิญญาณ ให้ครบทั้ง 4 มิติละค่ะ

เวทีนี้ถ้าเป็นจริงแล้ว คงเป็นพื้นที่ที่น่าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ดีทีเดียวนะคะ

เพียงได้รวมตัวกัน ก็บังเกิดความสำเร็จไปกว่าครึ่ง

ผมเชื่ออย่างหนึ่งในเรื่องศักยภาพของมนุษย์ที่แฝงเร้น และการยอมรับในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

ความตั้งใจดี การเิ่ริ่ิมต้นที่ดี แตกต่างและสร้า้งสรรค์ ของ การรวมตัวกันในครั้งนี้ ที่ อบต.ปางมะผ้า  

นอกจากเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว เราคาดหวังเรื่องของ สุขภาพที่พอเพียง ด้วยครับ ทั้ง ๔ มิติ เพื่อการก้าวไปสู่ "สุขภาวะ" ที่เป็นนิยามของชุมชนจริงๆ 

คงต้องได้รบกวน อาจารย์หมอนนท์ ในการเติมความเห็นบ่อยๆครับ 

การพัฒนาตั้งแต่เป็นเด็ก  ปลูกฝังไว้  เป็นสิ่งที่ดีค่ะ

มีหนังสือเรื่อง "กว่าจะถึงอนุบาลก็สายเสียแล้ว"

เป็นหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กตั้งแต่การปฏิสนธิที่มีการพัฒนาสมอง  จนถึงอายุ  ๖  ขวบ  สิ่งแวดล้อมและสิ่งที่ป้อนเข้าให้จะติดอยู่ในใต้สำนึกจนถึงตอนโต

Tacit  Knowledge  ความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในสมอง  แต่ละคนที่ผ่านประสบการณ์ที่แตกต่างกันย่อมมีความคิดที่หลากหลายและแตกต่าง

เหมือนคติพจน์ช่างตัดผม "หลายหัวดีกว่าหัวเดียว"

หลากลาย  และหล่อหลอม  อิอิ........................

คุณเอกคะ

  • ครูอ้อยดีใจนะคะที่ได้รู้จักกับคุณเอก  ได้เรียนรู้ซึ่งกันและกัน
  • ขอให้คุณเอกประสบแต่สิ่งที่มีความสุขความเจริญนะคะ

ครูอ้อยครับ

ผมดีใจเช่นกันครับ ที่ได้รู้จักปิยมิตรที่มีพลังในการสร้างสรรค์เช่นครูอ้อย

ผมเองก็ได้เรียนรู้จากครูอ้อยมากมาย และสร้างพลังให้เกิดกับผมด้วย

ผมอยู่ไกลครับ ...อยู่บนดอย บนเขา ข่าวสารและวิธีคิดบางอย่าง ต้องอาศัยเปิดเวทีพูดคุยใน Gotoknow ถึงจะช่วยเติมให้ผมได้ (เป็นอย่างดี)

หมายถึงผมเข้าถึงสื่อยาก ทำให้ต้องขยันเรียนรู้มากขึ้นครับ 

 

คุณกัลปังหา

หลายหัวดีกว่าหัวเดียว คติของคนตัดผม น่าจะจริงครับ คิดแบบนี้สร้า้งมูลค่าทางเศรษฐกิจให้คนตัดผม 

เรื่อง "การพัฒนาสมอง" นี่สำคัญมากนะครับ โดยเฉพาะการดูแลตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ

ประเด็นนี้น่าสนใจมากครับ 

  • ตามมาอ่านบันทึกนี้ค่ะ
  • ขอบคุณค่ะ
  • เป็นเวทีหนึ่งของความหลากหลาย และนำมาหล่อมหลอม  ดีค่ะ

ขอบคุณ น้องอ้อ - สุชานาถ  ครับ

เป็นส่วนหนึ่งที่บอกถึงความสวยงามของความหลากหลายครับ

................................................... 

คุณ DSS@MSUครับ

ยินดีครับ ...แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันได้นะครับผม 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท