ร่างกฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์


เป็นกฎหมายที่ใช้ในการป้องกันและปราบปรามกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหาย ซึ่งเป็นการกระทำบนระบบคอมพิวเตอร์

ร่างกฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">                เป็นกฎหมายที่ใช้ในการป้องกันและปราบปรามกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหาย ซึ่งเป็นการกระทำบนระบบคอมพิวเตอร์</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">ความคิดเห็น</p><p>น่าจะเพิ่มในเรื่องของเจตนา ว่ามีเจตนาที่ทำไปโดยจงใจเพื่อประโยชน์อะไรหรือทำไปโดยไม่โดยไม่มีเจตนาหรือไม่ตั้งใจ เพราะอาจจะเกิดกรณีที่ไม่เจตนาหรือไม่รู้เกิดขึ้นก็ได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นการระบุนี้จะต้องรัดกุมเพื่อไม่ให้เป็นช่องทางของผู้ที่กระทำผิดใช้หลบเลี่ยงเช่นเดียวกัน นอกจากนั้นบทลงโทษในบางมาตราควรจะมีโทษหนักมากกว่านี้ เพื่อเป็นการปราบไม่ให้ผู้ที่คิดจะกระทำกล้าที่จะกระทำโดยเฉพาะอย่างยิ่ง มาตรา 12 ควรอย่างยิ่งที่จะเพิ่มโทษ เพราะเป็นเหมือนกับผู้จำหน่ายโปรแกรมที่ส่งเสริมให้เกิดการกระทำผิดเกิดขึ้น </p><div style="text-align: center"></div><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt" class="MsoNormal">ในส่วนภาพรวมของทุกมาตรา ถือว่าดีมาก โดยครอบคลุมการกระทำความผิดทั้ง ผู้กระทำ,ผู้สนับสนุนหรือจำหน่าย รวมถึงการป้องกันการกระทำผิดของเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจ ซึ่งอาจจะนำอำนาจไปใช้ในทางที่ผิดอีกด้วย นอกจากนี้ การที่ให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายสามารถร้องทุกข์ได้ เสมือนเป็นผู้เสียหายในกรณีที่ผู้เสียหายได้เสียชีวิต ถือได้ว่าเป็นการระบุที่มีประโยชน์มากเลยทีเดียว</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">                สุดท้ายผมหวังว่า กฎหมายนี้จะช่วยป้องกันการกระทำผิดในทางคอมพิวเตอร์ของประเทศไทยให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด และส่งเสริมให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศไปอย่างมีระบบระเบียบมากขึ้น เพื่อเป็นสาธารนูปโภคทางสารสนเทศที่สนับสนุนและรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจที่จะขยายตัวต่อไปอย่างรวดเร็วในอนาคต</p>

หมายเลขบันทึก: 66841เขียนเมื่อ 13 ธันวาคม 2006 02:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:41 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

มาแจ้งข่าวศูนย์รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ร่างพรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ที่เนคเทคครับ

ร่าง  พรบ.นี้มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครือข่าย เนื่องจาก พรบ.จะกลายเป็นกติกาที่ใช้ร่วมกัน เป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่งที่คณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่าง พรบ.นี้ (เพื่อแปรญัตติ) ไม่ได้งุบงิบทำกัน แต่ได้เปิดเผยทั้งรายงานการประชุม ตลอดจนเอกสารที่มีการนำเสนอ

เท่าที่อ่านดูประเด็น เชื่อว่าจะมีการแปรญัตติในหลายมาตรา หลายประเด็น เรื่องสิทธิเสรีภาพ ความชัดเจนของความผิด อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน ฯลฯ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท