​หลักปฏิบัติ ในการพิจารณา "พุทธศิลป์"


หลักการพิจารณา "พุทธศิลป์"

--------------------------


จาก 1.พ่อพิมพ์ 2.แม่พิมพ์ 3.มวลสาร และ 4.พัฒนาการ
******************************
1. พ่อพิมพ์ คือ พุทธศิลป์ที่เกิดโดยเจตนา เพื่อความสวยงาม ตามหลักการของการสร้างสิ่งที่เคารพบูชา แต่ก็อาจจะมีความผิดพลาดโดยมิได้ตั้งใจจากงานฝีมือ ก็เป็นไปได้ ถ้าใช้พ่อพิมพ์เดียวก็จะพบลักษณะรายละเอียดของพุทธศิลป์ที่ตรงกันทุกองค์ ที่อาจจะใช้นับจำนวนพ่อพิมพ์ได้ ในแต่ละการสร้าง ที่ส่วนใหญ่ก็มีไม่มากนัก เพราะการสร้างพ่อพิมพ์ ทำได้ยาก
2. แมพิมพ์ คือ ส่วนที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในแต่ละแม่พิมพ์ โดยไม่น่าจะมีเจตนา ที่จะทำให้เกิดลักษณะแบบนั้น เช่นรอยแตก เส้นเกิน ลักษณะบิดเบี้ยว ฯลฯ เป็นต้น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะแม่พิมพ์ (บล็อก)
3. มวลสาร (และการกดพิมพ์) ที่จะทำให้เกิดลักษณะผิดเพี้ยนจากองค์อื่นๆ ทั้งพ่อพิมพ์ และแม่พิมพ์ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะองค์ ทั้งมาจากการเตรียมมวลสาร และการกดจากแต่ละครั้ง แต่ละแม้พิมพ์
4. พัฒนาการ(และการใช้) คือการเปลี่ยนแปลงจากการเก็บรักษา และดัดแปลงจากการใช้แบบต่างๆ ที่อาจจะเปลี้ยนแปลงที่ผิวนอก แต่โครงสร้างพุทธศิลป์ภายในยังคงเดิม



----------------------------------
นี่คือ 4 หลักการพื้นฐานในการพิจารณาพุทธศิลป์ครับ

หมายเลขบันทึก: 612977เขียนเมื่อ 28 สิงหาคม 2016 11:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 สิงหาคม 2016 11:08 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท