Archanwell
รศ.ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

จุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและมนุษย์ : คิดอย่างไร ? มีกรณีศึกษาหรือไม่ ?


เมื่อรัฐมีอำนาจอธิปไตยเหนือมนุษย์และเหนือดินแดนที่มนุษย์นั้นปรากฏตัว รัฐจึงมีจุดเกาะเกี่ยวกับมนุษย์นั้น ไม่มาก ก็น้อย

รวมเรื่องของจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและมนุษย์ ตลอดจนระหว่างรัฐและนวตกรรมของมนุษย์

โดย รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙

https://www.gotoknow.org/posts/612214

-------------------

แนวคิด/หลักคิด

--------------------

(๑.) แนวคิดทั่วไปและข้อเท็จจริงที่แสดงถึงจุดเกาะเกี่ยวระหว่างบุคคลธรรมดากับรัฐ, เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เริ่มเขียนในวันอาทิตย์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘, เผยแพร่ในวันศุกร์ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑

http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t...

(๒.) "จุดเกาะเกี่ยว" "องค์ประกอบต่างด้าว" และ "ลักษณะระหว่างประเทศ" มีความหมายเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?, งานเขียนเพื่อตอบคำถามของนักศึกษาในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓

http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t...

(๓.) แผนผังแสดงการจัดสรรบุคคลธรรมดาโดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, แผนผังเพื่ออธิบายความสับสนระหว่าง “รัฐที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับมนุษย์” และ “รัฐเจ้าของตัวบุคคล”, เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๙

https://twitter.com/ArchanWell/status/745883208122...

(๔.) กฎหมายขัดกันไทย : กลไกเพื่อสร้างความยุติธรรมระหว่างประเทศสำหรับนิติสัมพันธ์ของเอกชนที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับประเทศไทย, บทความเพื่อหนังสือรพีของคณะกรรมการเนติบัณฑิต สมัยที่ ๖๓, เขียนเมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๔, ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๔, เผยแพร่ใน : รพี’๕๔, หนังสือรพีของคณะกรรมการเนติบัณฑิต สมัยที่ ๖๓ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, กทม., บริษัท การพิมพ์ จำกัด, ๒๕๕๔, หน้า ๑๔๖ – ๑๕๖

http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t...

http://www.facebook.com/note.php?note_id=101503047...

-----------------------------------------------------

กรณีศึกษาจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและมนุษย์

----------------------------------------------------

(๕.) กรณีศึกษานางสาวศรีนวล : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวระหว่างบุคคลธรรมดาและรัฐ, ข้อสอบวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๒

http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t...

(๖.) กรณีศึกษานายมาร์ค : จากคนต่างด้าวซึ่งมีมีจุดเกาะเกี่ยวโดยการเกิดกับประเทศไทยโดยหลักสืบสายโลหิตจากมารดา....สู่คนสัญชาติไทยโดยหลักสืบสายโลหิตจากมารดาตั้งแต่วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕, กรณีศึกษาเพื่อการสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เขียนเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๕, ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๒

http://gotoknow.org/blog/people-management/316087

(๗.) กรณีศึกษานางมาลา : บุคคลธรรมดาซึ่งมีจุดเกาะเกี่ยวกับประเทศไทยและประเทศสหรัฐอเมริกา, กรณีศึกษาเพื่อการสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔, ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

https://www.l3nr.org/posts/536203

(๘.) กรณีศึกษานางสาวเดือน คนไร้สัญชาติแห่งอำเภอเวียงแหง : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและมนุษย์ที่เกิดในประเทศไทยเมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๑ จากบุพการีไร้รัฐไร้สัญชาติเชื้อสายไทยใหญ่ที่เกิดในประเทศเมียนมา และอพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทยโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายไทยว่าด้วยคนเข้าเมือง, กรณีศึกษาเพื่อการสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, ข้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล หลักสูตรนิติศาสตร์บัณฑิต ภาคบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ภาคแก้ตัว, เขียนเมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๕

https://www.gotoknow.org/posts/612237

(๙.) กรณีศึกษานางเรียน เวียนวัฒนชัย : คนที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับ ๓ ประเทศ กล่าวคือ ประเทศเวียดนาม ประเทศฝรั่งเศส และประเทศไทย, บันทึกความเห็นทางกฎหมายเพื่อตอบคำถามของประชาชนเรื่องการจัดการประชากร, เมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕

http://www.gotoknow.org/blogs/posts/503270

https://www.facebook.com/note.php?saved&¬e_id=1...

(๑๐.) กรณีศึกษานางสาวกรุณา : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐไทยและบุคคลธรรมดาซึ่งนอกประเทศไทยจากชายสัญชาติไทยและหญิงสัญชาติฝรั่งเศส, กรณีศึกษาเพื่อการสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เมื่อวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖

http://www.learners.in.th/blogs/posts/532600

(๑๑.) กรณีศึกษานางสาวแพทริเซีย : บุคคลธรรมดาที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับทั้งประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย, เขียนร่วมกับ อ.ดร.ชาติชาย เชษฐสุมน และ อ.ดร.รัชนีกร ลาภวณิชชา, กรณีศึกษาในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, มาจากข้อมูลภายใต้โครงการศึกษาวิจัยและให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิเด็กและผู้ด้อยโอกาสในชุมชนจังหวัดตากและชุมชนกลุ่มจังหวัดชายแดนในประเทศไทย”, กรณีศึกษาในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, มาจากข้อมูลภายใต้โครงการศึกษาวิจัยและให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิเด็กและผู้ด้อยโอกาสในชุมชนจังหวัดตากและชุมชนกลุ่มจังหวัดชายแดนในประเทศไทย”, เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖

http://www.l3nr.org/posts/536192

(๑๒.) กรณีศึกษานายพิชัย : คนที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับทั้งประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส !!!, กรณีศึกษาในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

https://www.l3nr.org/posts/536190

(๑๓.) กรณีศึกษาครอบครัวสุขเสน่ห์ : ภาพตัวอย่างของคนหลายรัฐที่มีจุดเกาะเกี่ยวอย่างแท้จริงและเข้มข้นกับรัฐไทย, กรณีศึกษาภายใต้โครงการศึกษาวิจัยการปรากฏตัวของคนไร้รัฐไร้สัญชาติในประเทศไทย, เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖

http://www.gotoknow.org/posts/537195

https://www.facebook.com/note.php?saved&¬e_id=1...

(๑๔.) กรณีศึกษานางสาวรมิตา : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวระหว่างมนุษย์กับรัฐ, ข้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลหลักสูตรปริญญาตรีนิติศาสตร์บัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ภาคปลาย, เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๗

https://www.facebook.com/note.php?saved&¬e_id=1...

(๑๕.) กรณีศึกษานางอาผี่หมี่หน่อง : จุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและคนชาติพันธุ์ไร้รัฐโดยสิ้นเชิง, ข้อสอบความรู้วิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ชั้นปริญญาตรี ภาคปกติ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ การสอบภาคที่ ๒ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗ วิชาบังคับ ชั้นปีที่ ๔ , เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘

https://www.facebook.com/note.php?saved&¬e_id=1...

(๑๖.) กรณีศึกษานายวีระ ชุบทอง : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวที่แท้จริงระหว่างรัฐไทยและมนุษย์ที่เกิดในประเทศไทยก่อนวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕ จากบุพการีซึ่งเป็นคนต่างด้าวที่อพยพมาจากต่างประเทศ, ข้อเท็จจริงนี้เรียบเรียงโดย รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร โดยนำข้อมูลมาจากการทำงานโครงการบางกอกคลินิก ภายใต้โครงการวิจัยการปรากฏตัวของคนไร้รัฐไร้สัญชาติในประเทศไทย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งได้รับข้อมูลและขอคำปรึกษาทางด้านกฎหมายกรณีของนายวีระ ไม่มีนามสกุล นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากอาจารย์นคร ภู่วโรดม อาจารย์ประจำคณะดังกล่าว ซึ่งทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษา ตั้งแต่วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๗ และการสอบข้อเท็จจริงเพิ่มเติมโดย (๑) อาจารย์ศิวนุช สร้อยทอง นักกฎหมายประจำคลินิกโรงพยาบาลแม่ระมาด และนักศึกษาปริญญาเอกคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (๑) อาจารย์พวงรัตน์ ปฐมสิริรัตน์ นักกฎหมายประจำบางกอกคลินิก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาบัณทิตด้านกฎหมายระหว่างประเทศจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ (๓) อาจารย์ปภาวดี สลักเพชร นักกฎหมายประจำบางกอกคลินิก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และนักศึกษาปริญญาโท คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตลอดจน นายธีระนันท์ ชัยมานันท์ ปลัดอำเภอฝ่ายทะเบียนอำเภอแม่สอด, ข้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ในการสอบความรู้ชั้นปริญญาตรี ภาคปกติคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต การสอบภาคที่ ๑ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๘ วิชาบังคับ ชั้นปีที่ ๔ เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๘, เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ปรับปรุงเมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๙

http://www.facebook.com/note.php?saved&¬e_id=10...

https://www.gotoknow.org/posts/599640

(๑๗.) กรณีศึกษานายบุญสวาท : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐไทยและคนต่างด้าวซึ่งเกิดและอาศัยอยู่นอกประเทศไทย แต่ก่อตั้งครอบครัวตามกฎหมายกับหญิงสัญชาติไทย, ข้อสอบปลายภาคในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคที่ ๒ ของปีการศึกษา ๒๕๕๘, เมื่อวันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๙

https://www.facebook.com/note.php?saved&¬e_id=1...

https://www.gotoknow.org/posts/606978

-----------------------------------------------------

กรณีศึกษาจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและนิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน ซึ่งเป็นนวตกรรมของมนุษย์

----------------------------------------------------

(๑๘.) กรณีศึกษาบริษัท เจเปนแมน จำกัด : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและนิติบุคคล, ข้อสอบปลายภาคในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ภาคฤดูร้อน ของปีการศึกษา ๒๕๕๒, เมื่อวันที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๓

https://www.gotoknow.org/posts/612236

(๑๙.) กรณีศึกษาบริษัททรานส์อาเซียน (ประเทศไทย) จำกัด : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและนิติบุคคลตามกฎหมายของรัฐไทยที่มีองค์ประกอบสิงคโปร์เข้มข้น, กรณีศึกษาในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

https://www.l3nr.org/posts/536135

-----------------------------------------------------

กรณีศึกษาจุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐและนิติสัมพันธ์ อันเป็นนวตกรรมของมนุษย์

----------------------------------------------------

(๒๐.) กรณีศึกษาสัญญาระหว่างบริษัท ส้มฝาง จำกัด และ บริษัท เจเจจีจี จำกัด : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวของสัญญาระหว่างรัฐและสัญญาที่ทำระหว่างบริษัทตามกฎหมายไทยและบริษัทตามกฎหมายต่างประเทศ, ข้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล หลักสูตรปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ภาคที่ ๒, เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๓

https://www.gotoknow.org/posts/612241

(๒๑.) กรณีศึกษาบริษัททรานส์อาเซียน จำกัด : การกำหนดจุดเกาะเกี่ยวของสัญญาระหว่างรัฐและเอกชน, กรณีศึกษาในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕

http://www.gotoknow.org/blogs/posts/506395



หมายเลขบันทึก: 612214เขียนเมื่อ 12 สิงหาคม 2016 13:58 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 สิงหาคม 2016 22:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท