จังหวะเต้นรำ


จังหวะเต้นรำ

การเต้นรำ คือ การเคลื่อนไหวร่างกายและการขยับตัวไปตามจังหวะเพลงที่มีการเต้นรำหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น การเต้นรำหมู่ การเต้นแจ๊ช บัลเลย์ เต้นแท๊ป บอลสรูม ฟังก์ และการเต้นแบรกแดนซ์ หรือการเต้นแบบไทย หรือการำวง การฟ้อนรำ การเต้นรำ แสดงถึง การมีความแข็งแกร่ง และความอ่อนโยน ในจังหวะที่เป็นไปตามเพลง แสดงถึงความโรแมนติก ความเป็นสุ..พบุรุษ สุ..สตรี และการมีวัฒนะธรรม

การเต้นรำเป็นการเคลื่อนไหวของมนุษย์แสดงออกทางสังคม และจิตวิญญาณ และเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ เป็นศาสตร์ คือ มีกฎที่ควบคุมแน่นอน ตายตัว เป็นศิลป์ คือ เราแสดงตัวตนที่แท้จริง การแสดงจิตนาการ การเต้นรำอาจทำเป็นกลุ่ม อย่างน้อย 2 – 3 คน โดยมีจังหวะดังต่อไปนี้

  • จังหวะตะลุง (Taloong)เพลงพระเมเหลเถไถ
  • จังหวะกัวร่าช่า (Guaracha)
  • จังหวะบาสโลบ หรือบัดสลบ จังหวะเต้นดิสโก้ จังหวะเต้นจำปาเมืองลาว คนบ้านเดียวกัน สาวเชียงขวาง บาสโลบ – บีกิน นครพนม รำวงวิเชียรบุรี ชะชะช่าบาสโลบ และบาสโลบของทุกจังหวัด ทุกหมู่บ้าน ตำบล อำเ..อ ในตะวันออกเฉียงเหนือ เต้นได้หลายๆจังหวะ
  • จังหวะรุมบ้า (Rhumba)
  • จังหวะบีกิน (Begin) เพลงเริงรักรำ
  • จังหวะรำวง (Rumwong) เช่น รำวงสาวบ้านแต้ รำวงงามตา เดือนลอยฟ้า งามแสงเดือน
  • จังหวะออฟบิท (Off beat)เพลงพรหมลิขิต
  • จังหวะร็อค (Rock)
  • จังหวะ ชะชะช่า (Cha Cha Cha)เพลงสุขกันเถอะเรา
  • จังหวะสโลว (Slow)
  • จังหวะแทงโก้ (Tango)
  • จังหวะวอลซ์ (Waltz)
  • จังหวะฟ๊อกซ์ ทรอท (Fox Trotl)
  • จังหวะควิกเสตป (Quick Stepl)เพลงพรานล่อเนื้อ ปวดใจ เย็นลมว่าว
  • จังหวะแซมบ้า (Zamba)
  • จังหวะสวิง (Swing)
  • จังหวะไจว์ฟ
  • จังหวะสามช่า
  • อื่นๆ อีกมากมายหลายจังหวะ พอสังเขป ที่ไม่สามารถค้นหาและนำมาเสนอได้

ผู้เขียนนำเรื่องนี้มาเขียน ผิดพลาดต้องขอโทษ ด้อยความรู้ ความสามารถ ทุกจังหวะเพลง แต่บาสโลบ เรานำมาเป็นการเต้นรำสำหรับงานสำคัญๆของประเทศไทย อยากเห็น ทุกส่วนราชการ โรงเรียน มหาวิทยาลัยต่างๆ นำมาดัดแปลงและได้เข้าได้ทุกๆจังหวะของเพลงต่างๆไปทั่วประเทศ และการแต่งกายของแต่ละท้องที่ เป็นเอกลักษณ์ และวัฒนะธรรม ของความเป็นไทย ที่ควรอนุรักษ์ไว้

คำสำคัญ (Tags): #จังหวะ#เต้นรำ
หมายเลขบันทึก: 593670เขียนเมื่อ 19 สิงหาคม 2015 18:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 สิงหาคม 2015 18:20 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท