วิชาการเงินการคลัง(ส32201) ม.5


การเงิน การคลัง(ส32201)

โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี

รายวิชาเพิ่มเติม : ส32201 การเงินการคลัง

                          ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

                          กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  ภาคเรียนที่ 1 : จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา : ศึกษา อธิบาย อภิปราย วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลความรู้เกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของเงิน ระบบการเงิน การคลัง นโยบายทางการคลัง รายได้ประชาชาติ ระบบการธนาคาร รูปแบบและกระบวนการทางภาษีอากร ปัญหาการเงินการคลังในปัจจุบันและแนวทางในการแก้ปัญหาของรัฐบาล

โดยใช้กระบวนการสืบค้น อธิบาย อภิปราย และนำเสนอข้อมูล เพื่อให้มีความเข้าใจในเรื่องการเงิน การคลัง ตระหนักในสภาพปัญหา และเห็นความจำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา โดยใช้นโยบายการเงิน การคลังที่ถูกต้อง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

1. วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ ความหมายและความสำคัญของเงิน

2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเงิน การคลัง นโยบายทางการเงิน นโยบายทางการคลัง รายได้ประชาชาติ ระบบการธนาคาร รูปแบบและกระบวนการทางภาษีอากร

3. อธิบายปัญหาการเงินการคลังในปัจจุบันและแนวทางในการแก้ปัญหาของรัฐบาล

คำสำคัญ (Tags): #การเงิน การคลัง
หมายเลขบันทึก: 440852เขียนเมื่อ 26 พฤษภาคม 2011 08:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 12:48 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)
นางสาวนารีตน์ เนิดน้อย

1.)ตอบ เงินคือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อขายสินค้าและบริการรวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2.)ตอบ เป็นสื่อกลางในการเปลี่ยนเเปลง (Medlum of exchange)

- เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (store of value)

- เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

- เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment)

3.)ตอบ หมายถึง M=1 ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระเเสรายวัน (Demand deposit)

4.)ตอบ หมายถึง -M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

-M2a หมายถึง M2+เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

-Ms หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารธนกิจ

5.)ตอบ ใช้โดยรู้คุณค่าของเงินเเบ่งจัดเป็นสัดส่วนหรือทำสมุดบัญชีเพื่อได้รู้การใช้จ่ายในเเต่ล่ะวันว่าเราใช้เงินรายรับและรายจ่ายเท่าไรบ้าง

นางสาวนารีตน์ เนิดน้อย ม.5/3

1.)ตอบ เงินคือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อขายสินค้าและบริการรวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2.)ตอบ เป็นสื่อกลางในการเปลี่ยนเเปลง (Medlum of exchange)

- เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (store of value)

- เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

- เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment)

3.)ตอบ หมายถึง M=1 ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระเเสรายวัน (Demand deposit)

4.)ตอบ หมายถึง -M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

-M2a หมายถึง M2+เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

-Ms หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารธนกิจ

5.)ตอบ ใช้โดยรู้คุณค่าของเงินเเบ่งจัดเป็นสัดส่วนหรือทำสมุดบัญชีเพื่อได้รู้การใช้จ่ายในเเต่ล่ะวันว่าเราใช้เงินรายรับและรายจ่ายเท่าไรบ้าง

วันเฉลิม เผื่อนภูมิใจ ม.5/3

1.ตอบ เงิน คือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

ความสำคัญของเงิน

ไม่ว่ามนุษย์จะอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศํยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. ตอบ หน้าที่ของเงิน

เงินเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการชื้อขายแลกเปลี่ยนสิ้นค้า และบริการในระบบเศรษฐกิจ โดยที่เงินมีราคาที่แน่นอนเป็นหน่วยเงินตรา และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ในการซื้อขายและชำระหนี้ คุณลักษณะดังกล่าวจึงทำให้เงินสามารถทำหน้าที่ ซึ่งมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ 3 ประเภทด้วยกับ คือ

ประเภทที่ 1 หน้าที่ขั้นต้น ได้แก่

1. เงินเป็นเครื่องวัดมูลค่า

หน้าที่ของเงิน ในแง่นี้ให้ความสะดวกในด้วนการใช้หน่วยของเงินสำหรับวัดมูลค่าของสิ่งของ และบริการ หน่วยของเงินนั้นแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น บางประเทศในหน่วยเป็นบาท กีบ ดอลลาร์ เปโซ ฟรังซ์ ปอนด์สเตอร์ลิง เป็นต้น มูลค่าของสินค้าและบริการแต่ละชนิดจะอยู่ในรูปของ ราคา ของสินค้าบริการนั้นๆ เช่น หมวกราคาใบละ 100 บาท เนื้อหมูกิโลกรัม ละ 38 บาท เป็นต้น

2. เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

เงินจะเป็นอะไรก็ได้ซึ่งเป๋นที่ยอมรับของคนทั้งไป ในสังคมว่าเป็นสื่อกลางในการกเปลี่ยน ดังนั้นเมื่อมีสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแล้ว หากมีความต้องการสินค้าบริการใด ก็ไม้ต้องแสวงหาคนที่ต้องการแลกเปลี่ยนที่ตรกกันกับเราเหมือนวิธีแลกเปลี่ยนสิ่งของ

ประเภทที่ 2 หน้าที่รอง ได้แก่

1. เงินเป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

ในระบบเศรษกิจปัจจุบันมีการขยายตัวในด้วนการค้า การติดต่อซื้อขายซึ่งกันและกันทั้งในและนอกประเทศ โดยทัวไปการค้าขายจะมีการผลัดเวลาการชำระเงินทุนดอกเบี้ย และหนี้สินต่างๆ จากปัจจุบันเป็นอนาคต ทั้งนี้ จะต้องอยู้ภายใต้ข้อจำกัดที่ว่า มูลค่าของเงินจะต้องไม้เปลี่ยนแปลงมากเกินไป

2. เงินเป็นเครื่องรักษามูลค่า

โดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจจะพยายามเลือกเก็บทรัพย์สินต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ใกที่สุด การเก็บทรัพย์สินในรูปต่างๆมูลค่าของมันอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ชั้วระยะเวลาหนึ่ง ถ้าทรัพย์สิยนั้นมีมูลค่าสูงแต่ถ้าราคาลกต่ำลงก็ขาดทุน ทรัพย์สินบางชนิดเน่าเสียง่าย บางชนิดไม้สะดวกในการเก็บรักษา ดังนั้นจึงมีผิ้ยมแลกเปลี่ยนสิ่งของดังกล่าวเป็นเงิน เพราะเงินที่ดีมีมูลค่าคงตัวอยู่เสมอ

ประเภทที่ 3 หน้าที่ประกอบ ได้แก่

1. เงินเป็นเครื่องชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย

ในข้อนี้รัฐจะต้องออกกฎหมายให้เงินที่ผลิตออกมา สามารถชำระหนี้ได้ถูกต้องได้ตามกฎหมาย และบนหน้าธนบัตรทุกฉบับก็จะมีข้อความอันนี้ยืนยันไว้ แต้ตัดว่า โดยไม่จำกัดจำนวน ออกไป

2. เงินเป็นเครื่องประกันฐานะของลูกหนี้

การค้าขายในปัจจุบันเป็นการค้าขายโดยใชแครดิตกันมาก โดยเฉพาะการค้าขายด้วยเงินเป็นจำนวนมากประกอบกับการดำเนินธุรกิจประจำวัน ย่อมจะต้องมีการกู้ยืมเงินกันเป็นนิจสิน การกู้ยืมนั้นผู้ขอยืมจะต้องมีเงินสดสำรองอยู่บ้าง

3. เงินเป็นเครื่องมือในการโอนย้ายมูลค่า

ในปัจจุบันนี้เงินทำหน้าที่เป็นหลักในการโอนหนี้ หรือโอนทรัพย์สินหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งหรือจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้โดยสะดวกและรวดเร็ว แม้ว่าในบาครั้งการโอนหนี้ การโอนเงินจะอยู้ในรูปของการใช้ดร๊าฟ หรือใช้เช็คก็ตาม แต่การโอนดังกล่าวก็ใช้เงินเป็นรากฐานในการโอนเงิน

3. ตอบ ปริมาณเงินตามความหมายแคบ (Narrow Money) หมายถึง

ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในมือประชาชนและเงินฝากเผื่อเรียกของประชาชนที่ระบบธนาคาร

4. ตอบ ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง(Broad Money) หมายถึง

ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในมือประชาชน นอกจากประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในมือประชาชนและเงินฝากเผื่อเรียกแล้ว ยังรวมเงินฝากประจำและออมทรัพย์ที่ระบบธนาคารอีกด้วย

5.นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...

ตอบ ในการใช้ชีวิตในละวัน เราควรคำนึงถึง ค่าใช้จ่ายแต่ละวัน

โดยไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือย ประหยัด

1.ตอบเงิน คือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

2ตอบ• ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

3ตอบ. • ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียว

กับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3

ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม

(ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

4ตอบ.M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

-M2a หมายถึง M2+เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

-Ms หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารธนกิจ

5ตอบสำหรับผู้ที่มีเงินเดือนมีเคล็ดไม่ลับในการวางแผนการใช้เงินมาฝาก แต่จะช่วยได้มากน้อยแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับตัวคุณแล้วหล่ะ หลักในการวางแผนการใช้เงินง่ายๆคือ ตรวจสอบการใช้จ่ายของคุณในทุกๆสัปดาห์ โดยการจดบันทึกรายรับ รายจ่ายในแต่ละวัน แล้วตรวจสอบว่าเงินของคุณหมดไปกับกิจกรรมอะไรมากที่สุดหากกิจกรรมนั้นไม่จำเป็นเราก็ควรจะลดการใช้จ่ายในส่วนนั้นๆลงไปก่อน ควรใช้จ่ายเฉพาะสิ่งที่จำเป็นก่อน

ชลัมพล ดอนเมืองปักเลที่9 ม.5/4

.ตอบเงิน คือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

2ตอบ• ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

3ตอบ. • ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียว

กับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3

ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม

(ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

4ตอบ.M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

-M2a หมายถึง M2+เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

-Ms หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารธนกิจ

5ตอบสำหรับผู้ที่มีเงินเดือนมีเคล็ดไม่ลับในการวางแผนการใช้เงินมาฝาก แต่จะช่วยได้มากน้อยแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับตัวคุณแล้วหล่ะ หลักในการวางแผนการใช้เงินง่ายๆคือ ตรวจสอบการใช้จ่ายของคุณในทุกๆสัปดาห์ โดยการจดบันทึกรายรับ รายจ่ายในแต่ละวัน แล้วตรวจสอบว่าเงินของคุณหมดไปกับกิจกรรมอะไรมากที่สุดหากกิจกรรมนั้นไม่จำเป็นเราก็ควรจะลดการใช้จ่ายในส่วนนั้นๆลงไไปก่อน ควรใช้จ่ายเฉพาะสิ่งที่จำเป็นก่อน

1ตอบเงิน" หมายถึง สิ่งที่สังคมยอมรับเพื่อใช้อำนวยความสะดวกในการ

แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการเพื่อนำมาตอบสนองความต้องการ

ของตนเองรวมถึงเป็นสิ่งที่ใช้วัดมูลค่าสินค้าและบริการ

2ตอบ ให้การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ทำใด้้้สะดวกกว่าการแลกเปลี่ยนในระบบการแลกเปลี่ยนสินค้าต่อสินค้า เพราะเมื่อมีการใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ผู้เป็นเจ้าของสินค้าก็จะแลกเปลี่ยนสินค้าของตนกับเงิน (คือการขายสินค้าให้กับผู้ที่ต้องการ) ส่วนผู้ที่ต้องการสินค้าก็จะนำเงินไปแลกเปลี่ยนกับสินค้า (คือการซื้อสินค้าจากผู้ที่ต้องการขาย) การซื้อขายสินค้าทำได้สะดวกและขยายตัวมากขึ้น ซึ่งก็จะกระตุ้นให้การผลิตและการลงทุนขยายตัวต่อไป แต่การที่เงินจะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนได้นั้น เงินจะต้องมีคุณสมบัติที่สำคัญบางประการคือ เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป วัสดุที่ใช้ทำเงินจะต้องเป็นของหายากหรือยากต่อการปลอมแปลง และเก็บไว้ได้นานโดยไม่เสื่อมสภาพ เงินสามารถแบ่งเป็นหน่วยย่อย ๆได้ และสามารถนำติดตัวไปเพื่อการแลกเปลี่ยนสินค้าได้ง่าย

3 ตอบ ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝาก

กระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่

สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ

สหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4 ตอบ o ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ

เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน

เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงิน

ในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

5 ตอบ ตัวอย่างการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของฉัน เช่น

- ด้านการใช้จ่ายเงินในครอบครัว คือ ครอบครัวของฉันจะมีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายประจำวัน รวมถึงฉันเองก็จะมีการวางแผนหรือจดบันทึกเพื่อที่จะได้ทราบว่าในแต่ละวันเราใช้จ่ายไปเท่าไหร่ ครอบครัวเราใช้จ่ายอะไรบ้างในแต่ละวัน ซึ่งเราจะได้รู้ถึงหลักการในการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมภายในครอบครัว

นาย นทีกานต์ สมศักดิ์

1ตอบ เป็นคือ อะไรก็ตามที่ยอมรับกันโดยทั้วไปในการให้ชื่อขายสินค้าและบริการรวมไปถึงการใช้ชำ

หนี้

2ตอบ เป็นสื่อกลางในการเปลี่ยนแปลง (Medlum of exchange)

เป็นที่เกิบวัดษามูลค่า (Stove of ralue)

เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit ofaccount)

เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3ตอบ หมายถึง M=1 ธนบัตร+เหรียญถษาปณ์+เงินบาทกระแสรายวัน (demand deposit)

4ตอบ หมายถึง -M2 หมายถึง M1+เงินบาทออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน -M2a หมายถึง M2+ เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาให้

เงินทุน -Ms หมายถึงM2 +เงินบาทของประชาชนที่ธนาคา

5ตอบ ใช้โดยรู้คุณค่าของเงินแบ่งจัดเป็นสักส่วน

1ตอบ เป็นคือ อะไรก็ตามที่ยอมรับกันโดยทั้วไปในการให้ชื่อขายสินค้าและบริการรวมไปถึงการใช้ชำ

หนี้

2ตอบ เป็นสื่อกลางในการเปลี่ยนแปลง (Medlum of exchange)

เป็นที่เกิบวัดษามูลค่า (Stove of ralue)

เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit ofaccount)

เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3ตอบ หมายถึง M=1 ธนบัตร+เหรียญถษาปณ์+เงินบาทกระแสรายวัน (demand deposit)

4ตอบ หมายถึง -M2 หมายถึง M1+เงินบาทออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน -M2a หมายถึง M2+ เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาให้

เงินทุน -Ms หมายถึงM2 +เงินบาทของประชาชนที่ธนาคา

5ตอบ ใช้โดยรู้คุณค่าของเงินแบ่งจัดเป็นสักส่วน


พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท