การปลูกอ้อย ด้วยวิธี SSI + ดูงานโครงการปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่


เป็นทางเลือกในการเพิ่มผลผลิต อ้อย และลดการสูญเสียของท่อนพันธุ์ลงได้

หลังจากผมลงบันทึกแรก

เรื่อง ตามติดชีวิตเกษตรกร ไปในตอนแรก

เป็นเรื่องของ "การจัดระเบียบการปลูกข้าว"

ไปแล้ว ก็เป็นตอนที่สอง มาว่ากันด้วย "อ้อย"

ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ

 

 

เป็นแนวทางศึกษาเเบบเปรียบเทียบในการหาวิธีการเพาะปลูกในแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่(Yield) การลดต้นทุนการผลิต เป็นมิตรกับสิ่งเเวดล้อม และรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทย

 

เรื่องข้าว ก็เป็นวิธีการเเบบ SRI ติดตามข้อมูลได้ที่

http://info.worldbank.org/etools/docs/library/245848/overview.html

เรื่องอ้อย ก็เป็นวิธีการเเบบ SSI ติดตามข้อมูลได้ที่

http://assets.panda.org/downloads/ssi_manual.pdf 

สรุปย่อ

เป็นแนวทางปลูกอ้อยเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ส่งเสริมในอินเดีย

ลดการใช้ท่อนพันธุ์ลง ใช้เฉพาะตาอ้อย

ลำอ้อยที่เหลือ ก็เอาไปขายได้

แตกต่างจากวิธีการเพาะปลูกเเบบเดิม ที่ใช้

อ้อยทั้งลำ ใส่ลงในเครื่องปลูก และผ่านชุดตัดท่อน และวางลงในดิน (มีเปอร์เซนต์ในการสูญเสียมากกว่า อาจตาย หรือไม่งอก)

วิธีนี้เอาตาอ้อย มาอนุบาล ก่อนลงเเปลงปลูก 25-35 วันในกะบะหลุม แล้วบ่มให้รากงอก ก่อนลงเเปลงเเผ่

ทำให้สามารถควบคุมคุณภาพการปลูกได้มากขึ้น (จำนวนต้นต่อไร่)

 

อ้อย มีพื้นที่ว่าง รับแสง ระยะห่างระหว่างแถว 1.5 เมตร (5 ฟุต) และปลูกเเบบสลับฟันปลา เพื่อไม่ให้อ้อยเบียดเเย่งเเสงกัน อ้อยมีการแตกลำ ได้มากขึ้น ส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มผลผลิต ต่อไร่

 

พัฒนาการคล้าย การทำนาดำ ด้วยรถ คือมีการอนุบาลกล้า ก่อนลงเเปลงปลูก

ก่อนการใช้รถปักดำ ครับ

ข้อจำกัดด้วยวิธีนี้ ยังไม่สามารถพัฒนาในเชิงพาณิชย์ได้ (ปลูกในเเปลงใหญ่)  ต้องใช้เครื่องปลูกต้นอ้อย อนุบาลมาต่อยอด สามารถทดลองปลูกในพื้น ก่อนได้ครับ สำหรับชาวไร่อ้อย ที่มีพื้นที่น้อย ครับ

 


ตามไปชม...> อ้อยในประเทศไทย

โครงการปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่

นับเป็นความภูมิใจของกลุ่มวังขนาย และมุ่งมั่นที่จะนำความสำเร็จนี้ขยายสู่เกษตรกรชาวไร่อ้อย ให้สามารถเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนในพื้นที่เพาะปลูกที่มีจำกัดได้ อีกทั้งยังรองรับแผนการขยายอ้อยพันธุ์ดีเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยปลูกขยายพันธุ์ในรูปแบบอ้อยอินทรีย์ ซึ่งเป็นอ้อยธรรมชาติบริสุทธิ์ที่นำไปแปรรูปเป็นน้ำตาลธรรมชาติบริสุทธิ์ที่แท้จริงได้ในที่สุด

 

ที่มา:

http://www.wangkanai.co.th/new/activity.php?Id=109

http://wangkanai.co.th/new/activity.php?Id=108


 

ในอนาคตคาดว่า น่าจะมีรถสำหรับปลูกด้วยวิธีการดังกล่าวได้

ตาม concept เดิมครับ

หมายเลขบันทึก: 404326เขียนเมื่อ 24 ตุลาคม 2010 12:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:42 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (17)

ดีจังเลยครับ ว่าแต่ว่า ปัจจุบันไทยเราปลูกแบบไหนกันบ้างครับ

ขอบคุณอาจารย์ที่เเวะเข้ามาเยี่ยมชมครับ

 

การปลูกอ้อย ในบ้านเรา

มีสองรูปแบบคือ

1.ใช้แรงงานคน รายท่อนพันธุ์ใส่ร่องที่ได้ใช้รถแทรกเตอร์เปิดร่องไว้ แล้วจึงเดินใช้จอบสับท่อนพันธุ์ ออกเป็นท่อนๆ

และ2.ใช้เครื่องปลูกอ้อยติดท้ายรถแทรกเตอร์

โดยนำลำอ้อยบรรทุกใส่เครื่องปลูก  กระบวนการทำงานดังรูป ประกอบ

ลองเปรียบเทียบดูนะครับ .................

ปลูกแบบไทยก็ดี เพราะกระจายรายได้(คนรับจ้าง) สร้างความสามัคคี(คนตัดอ้อยได้คุยกันสนุกสนาน) ไม่มีมลพิษ(ใช้แรงคน) ผลผลิตไม่ต้องมาก(ประหยัด) 5555

ขอบคุณ ศน.เฉลิมชัย

ที่เข้ามาเยี่ยมครับ ทุกวิธีการ มีข้อดี แต่ก็มีข้อจำกัด อยู่ในตัวเอง ครับ

ผมส่งเสริมการลงเเขก เอาแรงกัน แต่ข้อจำกัด คือ

ถึงเวลา เเดดร้อน คนงานหายาก

มันเดินหน้าต่อไม่ได้ครับ   

 

คุณต้นกล้าครับ

สวัสดีตอนเช้าครับ...

การปลูกอ้อยแบบ SSI

เป็นการจัดการความรู้ที่ชัดเจนเลยครับ ถือว่าเป็นการเพิ่มมูลค่าอ้อย เเละการขยายพันธุ์โดยไม่ต้องใช้ทั้งท่อนเหมือนที่เคยปฏิบัติ ลดพื้นที่ เพิ่มรายจ่าย...

เยี่ยมจริงๆ

ขอบคุณครับเรื่องราวดีๆภาพประกอบที่เข้าใจง่าย

ชื่นชมคนคิดพลิกแพลงจนสำเร็จนะครับ...

ไม่ยึดติดว่า...ก็เคยทำมาแบบนี้...

และขอบคุณที่นำมาเผยแพร่..

ไม่ทราบว่าถ้าเกษตรกรจะเลียนแบบมีลิขสิทธิ์หรืไม่ครับ

...เมื่อวานก็ได้ยินว่า อ้อยที่อุดร เขาไว้ตอได้ถึง 6 รุ่น และผลผลิตสูงกว่าชาวบ้าน ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจนะครับ

ขอบคุณที่ตอบอย่างทันควันเลยครับ..^^

อ้อยที่อุดรเขาก็บอกว่า ตอ 6 ได้ 15 ตันนะครับ ผมกำลังสนใจ แต่ยังสืบไปไม่ถึงครับ ได้ยินว่าอยู่ที่บ้านฝั่งแดง อ.นากลาง นะครับ..

แถบหนองคายไม่มีอ้อยเท่าไหร่ มีแต่ยางพารา ถ้ายางหน้าตายก็มาเลยครับ..แก้ได้..

จากต้นแบบนี้

เป็นกรีดครั้งเดียว ได้ 2 ถ้วยครับ

ขอบคุณ

พี่เกษตร(อยู่) จังหวัด

น่าจะทำเป็น powerpoint+รูปภาพประกอบ lecture ไปในตัวครับ

สามารถ convert เป็น jpg upload ลง G2K ได้ง่ายขึ้น

งานเขียนส่วนใหญ่ที่ผมนำมาลง เป็นส่วนหนึ่ง

ของการทำสื่อการเรียนรู้ ร่วมกับเกษตรกร ตอนกลางคืน ครับ

ตั้งคำถาม โหดๆ แบบว่า เอาเรืองจริงมาตีเเผ่ + projection ให้เกษตรกรเห็น เกษตรกร ต้องตอบปัญหา และแก้ด้วยตัวเค้าเอง

โดยเราอำนวยการ องค์ความรู้ และกลไกสนับสนุน ครับ

เราเข้าไปเปลี่ยนเค้าไม่ได้ ถ้าเค้าไม่พร้อมที่จะเปลี่ยนเเปลงครับ

ขอบคุณมากครับ ที่ให้เกียรติมาเยี่ยมเยียน สมาชิกใหม่ ...
ขอคำชี้แนะด้วยนะครับ

สวัสดีค่ะ คุณต้นกล้า

ขอบคุณมากเลยนะคะ ที่แนะนำความรู้ใหม่ๆ

Ico32
ขอบคุณที่แวะมาเยี่ยมชมบันทึกครับ ...
มีข้อมูลดีๆ ก็นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันครับ

กำลังหาข้อมูลการปลูกอ้อยอยู่ คิดว่าโชคดีที่ได้มาเจอ ขอบคุณมากค่ะ

เรียนคุณ ธัญลักษณ์ ทุมพงษ์

แต่ละวิธีการ วัตถุประสงค์ก็แตกต่างกันไปครับ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อจำกัด ของทรัพยากรเป็นสำคัญครับ

ยินดีที่เป็นประโยชน์ ครับ

ผมจะหาซื้อถาดหลุมเพาะอ้อยได้ที่ใหนครับ

สารอุ้มน้ำที่เหมาะกับงานเกษตรจริง ๆมีอายุการใช้งาน3-5ปีเมื่อฝังมันในดินแล้ว



ข้อมูลจำเพาะของสารอุ้มน้ำ



โพลิเมอร์(สารอุ้มน้ำ ,Highwaterabsorbingpolymer)



สารอุ้มน้ำที่ผลิตออกมาจำหน่ายโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะดูดน้ำไว้ให้ได้มากมีมากมายหลาย
ชนิด เช่น ModifiedStarch,Polyacrylate (sodiumpolyacrylate),
PotassiumPolyacrylate เป็นต้น





 
 
 
 


 
 
 
 


 
 
 
 


 
 
 
 


 

ชนิดของสารอุ้มน้ำ


 

 

ส่วนประกอบระกอบ


 

 

ข้อดี


 

 

ข้อเสีย


 

 

Modifide Starch


 

 

ผลิตจากวัสดุธรรมชาติ


 

ประกอบด้วยโมเลกุลของ


 

แป้งเซลลูโลสและนำมาเชื่อมติดกับสารประกอบอื่น


 

 

ข้อดีราคาถูก


 

อัตราการดูดน้ำเร็ว


 

แต่ขยายตัวได้น้อย


 

 

อายุการใช้งาน


 

ในดินต่ำ1-3เดือนหลังจากสลายตัวแล้วแล้วอาจเป็นสาเหตุเกิดโรคในรากพืชได้


 

เราไม่มีขายครับ


 

 

Sodium


 

polyacrylate


 

 

ทำจาก100% acrylic acid


 

เป็นแบบเดียวกับที่ใช้ในผ้าอนามัย


 

หรือผ้าอ้อมเด็ก


 

 

ราคาถูกมากมีความสามารถในการดูดน้ำที่เร็วมากและเก็บน้ำในตัวสารได้เป็นอย่างดี


 

 

อายุการใช้งานสั้นตั้งแต่6เดือน-1ปี


 

(แต่มากกว่าModifide Starch)


 

ให้การคายน้ำให้พืชได้น้อยประกอบด้วยSodiumซี่งเป็นพิษต่อดินและสิ่งแวดล้อมอาจจะทำพืชตายได้เพราะสามารถดูดน้ำได้เร็วกว่ารากพืช


 

เราไม่มีขายครับ


 

 
  
   
  
 

   

Potassium Polyacrylate


   

 
 

 

ทำมาจากสาร
  acrylic


 

acidและacrylamideเป็นแบบเดียวกับที่


 

ใช้ในการเกษตร


 

 

ดูดน้ำอย่างค่อยเป็นค่อยไปไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมเนื่องจากอยู่ในรูปของเกลือโพแทสเซียมมีความสามารถดูดน้ำ200-400เท่ามีอายุการใช้งานยาวนาน3-5ปีใช้เป็นสารอุ้มน้ำที่มีประสิทธิภาพและย่อยสลายได้ตามธรรมชาติเป็นปุ๋ยโพแทสเซียม


 

 

ราคาสูง


 

ราคาขายตกกิโลกรัมละ300บาทขายขั้นต่ำ25กิโลกรัมหรือ1กระสอบ


 

ซื้อ3กระสอบขึ้นราคา7000บาทต่อกระสอบครับ


 

ส่งฟรีทั่วประเทศสนใจติดต่อคุณไก่ 0897957635


 

วิธีสั่งซื้อโทรมาถามเลขบัญชี3ตัวแรกxxx-7-00488-1 ชื่อบัญชี นาย สมิทธิเส็งเจริญธนาคารกรุงเทพ


 

สาขาอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์รพ.รามารับดีแล้วค่อยส่งชื่อและที่อยู่มาให้ครับทางsmsก็ได้ครับ


 



วิธีใช้โพลิเมอร์สารอุ้มน้ำสำหรับที่ๆแห้งแล้งฝนไม่ค่อยตก1 กิโลกรัมใส่ในถัง200ลิตรเลยใส่น้ำให้เต็มมแช่ทิ้งไว้1คืนใช้ในการลองก้นหลุมๆละ1ลิตรครับ(จริงๆถ้าคุณภาพน้ำดีสามารถใส่ได้1กิโลกรัมต่อน้ำ250ลิตร)

 



 

ควรจะใช้โพลืเมอร์สารอุ้มน้ำแทนระบบน้ำหยดดีกว่าครับ

ผู้ผลิต ถาดเพาะข้าว / ถาดเพาะชำอ้อย / ต้นกล้า สำหรับ ฟาร์ม เพาะเนื้อเยื่อ / ชุดอนุบาลต้นกล้า ทุกชนิด ติดต่อ 085-932-2616

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท