GotoKnow

การรักษาสภาพสเมียร์ reticulocyte …ตอนผลการวิเคราะห์

ตาค่ะ
เขียนเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2549 06:52 น. ()
แก้ไขเมื่อ 21 พฤษภาคม 2555 23:02 น. ()
เป็นของแถมที่ทีมงานได้เรียนรู้...จากการเข้าร่วมโครงการ Patho OTOP 2

                จากการนำค่าร้อยละ reticulocyte  ที่นับได้จากสเมียร์ reticulocyte ที่ใช้  Immersion Oil  เป็น preservative จำนวน 30 ราย มาทำการวิเคราะห์ พบว่า ค่าร้อยละ reticulocyte  ทั้งที่ระยะเวลา 8 ชั่วโมง, 1 สัปดาห์ และที่ระยะเวลา 2 เดือน กับที่ระยะเวลาภายใน 2 ชั่วโมงหลังเจาะเก็บตัวอย่างเลือดตามปกติ ได้ค่าเฉลี่ยของค่าร้อยละ reticulocyte ที่ใกล้เคียงกันและจากการเปรียบเทียบค่าที่ได้จากการทดสอบด้วยวิธีทางสถิติ paired t- test ได้ค่า p = 0.27, 0.19, 0.29 (α = 0.05) ตามลำดับ ซึ่งถือว่าค่าที่ได้ไม่แตกต่างกัน ดังตาราง  <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center" class="MsoNormal" align="center">ตาราง เปรียบเทียบค่าร้อยละ reticulocyte จากการใช้ Immersion Oil  เป็น preservative ที่ระยะเวลาต่างกัน กับปกติภายใน 2 ชั่วโมงหลังเจาะเก็บจำนวน 30 ราย </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center" class="MsoNormal" align="center"></p><table border="1" cellspacing="0" cellpadding="0" class="MsoTableGrid" style="margin: auto auto auto 23.4pt; border-collapse: collapse; border: medium none"><tbody>

เวลาที่นับ

ค่าร้อยละ reticulocyte

ค่า paired t- testภายใน 2 ชั่วโมง กับที่

ค่าเฉลี่ย

SD

8 ชั่วโมง

1 สัปดาห์

2 เดือน

ภายใน 2 ชั่วโมง

8.30

4.67

 p = 0.27 α = 0.05

 p = 0.19 α = 0.05

 p =0.29 α = 0.05

ที่ 8 ชั่วโมง

8.45

4.60

ที่ 1 สัปดาห์

8.30

4.53

ที่ 2 เดือน

8.35

4.60

</tbody></table><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center" class="MsoNormal" align="center">               </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center" class="MsoNormal" align="center">  นี้คือการรักษาสภาพสเมียร์ reticulocyte  เป็นของแถมที่ทีมงานได้เรียนรู้...จากการเข้าร่วมโครงการ Patho OTOP 2 ซึ่งคิดว่าคงเป็นประโยชน์กับห้องปฏิบัตการทางการแพทย์ต่อไป...และต่อๆ ไป ...ค่ะ</p>



ความเห็น

พี่เม่ย
เขียนเมื่อ
ยอดเยี่ยมค่ะ!

 พี่ตาตอนนี้เป็นคนเก่งทางสถิติไปแล้ว  ขอชื่อนชมครับ

สวัสดีค่ะพี่ตา

ดีใจมากเลยค่ะที่ได้เห็นรูปถ่ายและได้อ่านบันทึกแห่งความรู้ที่พี่ตาเขียนไว้ในบล็อก แม้จะอ่านไม่รู้เรื่องก็ตาม ได้เห็นหน้าแว็บเข้ามาใน GotoKnow ก็ดีใจมากแล้วค่ะ

ขอบคุณมากค่ะ :)

ศิริ
เขียนเมื่อ

ชื่นชมค่ะ พี่ตา เริ่มต้นเขียน paper ได้แล้วค่ะ

Cheer ++

ยอดเยี่ยมมากๆๆๆ

โอ๋-อโณ
เขียนเมื่อ
เดินหน้าต่อไปถึงการเขียน inter ได้เลยค่ะ ยินดีช่วยเต็มที่อีกแรงค่ะ เชื่อว่าคุณ"ตาค่ะ" ทำได้แน่ค่ะ เผลอๆจะได้เป็น reference ให้ใครต่อใครต่อไปได้ด้วย อย่ารอช้าเลยค่ะ
nidnoi
เขียนเมื่อ
SPSS  ที่ไปเรียนด้วยกันตอนนั้น   ได้ใช้ประโยชน์แล้วเนาะ
สงสัยว่าต่อไป   จะใช้ SPSS ต้องปรึกษาพี่ตา  บ้างแล้วล่ะ   เพราะตัวเองลืมไปหมดแล้ว...

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท
ภาษาปิยะธอน (Piyathon)
เขียนโค้ดไพทอนได้ด้วยภาษาไทย