แบบเสนอโครงการวิจัย (research project) ประกอบการเสนอของบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561


ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย)การพัฒนาจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมประชาธิปไตยของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา.

(ภาษาอังกฤษ)To develop mental habits of good citizenship in a democratic society, the graduates who completed their studies. Political Science MahaChulalongkorn University College.Campus Forum.

(กรณีเป็นโครงการวิจัยภายใต้แผนงานวิจัย)การวิจัยภายใต้แผนงานวิจัย) การวิจัยและ ชื่อแผนงานวิจัย (ภาษาไทย) พัฒนาจิตพฤติกรรมเยาวชนและสังคมไทย

(ภาษาอังกฤษ)Research and development of mental, behavioral, social, youth and Thailand.

ส่วน ก : ลักษณะโครงการวิจัย

โครงการวิจัยใหม่

โครงการวิจัยต่อเนื่อง

ระยะเวลา 1 ปี 2561 เดือน ปีนี้เป็นปีที่.......................

Ý1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ ไม่สอดคล้อง

เป้าประสงค์-ไม่ต้องระบุ-

กลยุทธ์-ไม่ต้องระบุ-

Ý2. นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 3 : ส่งเสริมกลไกและกิจกรรมการนำกระบวนการวิจัย ผลงานวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยความร่วมมือของภาคส่วนต่าง ๆ

กลยุทธ์ 3.1 ส่งเสริมการจัดการความรู้และสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัย

แผนวิจัย-ไม่ต้องระบุ-

Ý3. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น

ไม่สอดคล้อง

Ý4. ยุทธศาสตร์ชาติ

ไม่สอดคล้อง

5. นโยบาย/เป้าหมายของรัฐบาล

ระเบียบวาระแห่งชาติ

ไม่สอดคล้อง

โครงการท้าทายไทย

ไม่สอดคล้อง

นโยบายรัฐบาล

ไม่สอดคล้อง

6. ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน

ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาในระดับชาติและนานาชาติ

การตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาหรือสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง

ไม่มีการตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง

ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว ไม่มีทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง

ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว มีทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานร่วมลงทุน ร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย หรือ Matching fund

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

ที่อยู่ 566 หมู่ที่ 2 ตำบลแม่กา อ.เมือง จังหวัดพะเยา 56000

เบอร์โทรศัพท์ 054870142

ชื่อผู้ประสานงานดร.สหัทยา วิเศษ

เบอร์โทรศัพท์ผู้ประสานงาน 0879077967

เบอร์โทรสารผู้ประสานงาน...................................................................................................................................

อีเมลผู้ประสานงาน[email protected]

การเสนอข้อเสนอหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของงานวิจัยนี้ต่อแหล่งทุนอื่น หรือเป็นการวิจัยต่อยอดจากโครงการวิจัยอื่น มี ไม่มี

หน่วยงาน/สถาบันที่ยื่น...................................................................................................................................

ชื่อโครงการ...................................................................................................................................

ระบุความแตกต่างจากโครงการนี้...................................................................................................................................

สถานะการพิจารณา

ไม่มีการพิจารณา

โครงการได้รับอนุมัติแล้ว

สัดส่วนทุนที่ได้รับ.........................%

โครงการอยู่ระหว่างการพิจารณา

มาตรฐานการวิจัย

มีการใช้สัตว์ทดลอง

มีการวิจัยในมนุษย์

มีการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางชีวภาพ

มีการใช้ห้องปฎิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี

ส่วน ข : องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย

1. ผู้รับผิดชอบ

คำนำหน้า

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่งในโครงการ

สัดส่วนการมีส่วนร่วม

เวลาที่ทำวิจัย (ชั่วโมง/สัปดาห์)

นาย

คนอง วังฝายแก้ว

หัวหน้าโครงการ

80

เวลาที่ใช้ทำวิจัย 15 ชั่วโมง : สัปดาห์

นางสาว

สหัทยา วิเศษ

ผู้ประสานงาน

20

เวลาที่ใช้ทำวิจัย 15 ชั่วโมง : สัปดาห์

2. ประเภทการวิจัย การวิจัยพื้นฐาน

สาขาการวิจัยหลัก OECD 5. สังคมศาสตร์

สาขาการวิจัยย่อย OECD 5.7 สังคมศาสตร์ : รัฐศาสตร์

ด้านการวิจัย สังคม/มนุษยศาสตร์

3. สาขาวิชาการ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์

4. คำสำคัญ (keyword)

คำสำคัญ (TH)การพัฒนาจิต หมายถึง จิตใจเป็นรากฐานสำคัญที่จะแสดงออกในอากัปกิริยาตลอดหน้าที่การงานใจเมื่อได้รับการอบรมย่อมมีสติ ย่อมมีความฉลาดรอบคอบในความคิดความปรุงของตน คิดดีคิดชั่วคิดผิดถูกประการใด สติย่อมมีย่อมรู้ แล้วก็ทำตามสิ่งที่เห็นว่าถูกต้องดีงาม งดเว้นสิ่งที่ไม่ดีทั้งหลาย นั้นท่านเรียกว่า พัฒนาจิตพลเมืองที่ดีหมายถึงผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่พลเมืองได้ครบถ้วนทั้งกิจที่ต้องทําและกิจที่ควรทํา ประชาธิปไตย หมายถึง แบบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ บัณฑิตหมายถึง ผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชารัฐศาสตร์วิชาเอกการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา ตั้งแต่รุ่นที่ 1 ถึง รุ่นที่ 22

คำสำคัญ (EN)…Spiritual development means that it is fundamental to express themselves in assists throughout a career. When I would be trained consciousness. He is intelligent, thoughtful ideas in their cooking. I think he thought it was any good. I know there is consciousness Then do something that was pretty good. Refrain from things that are not good. Then he called mental development Click here to enter textBehavior refers to activities that creatures do. And others can be observed or experimental tools, such as laughing, crying, eating, playing or sleeping. Democracy means the rule of the people is a great resolution. Graduate mean, who graduated from the Faculty of Political Sciences, majoring in administration. MahaChulalongkorn University College.Campus Forum Since the first version to version 22.University of MahaChulalongkorn University, referring to the Royal College. Campus District No. 566 Moo 2 Tambon Mae KaMuangPhayao

5. ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย

การพัฒนาจิตใจ เพื่อกำจัดสิ่งรังควาน หรือทำลายจิตใจและอารมณ์ ให้จิตใจได้รับความสงบเยือกเย็น และสิ่งที่จะนำมาแก้ไข หรือซักฟอกได้นอกจากธรรมแล้วไม่มี บางทีได้ยินจากครูอาจารย์แล้ว ส่วนมากก็จะไม่เข้าถึงจิตใจ หรือ เข้าถึงได้ไม่พอที่จะให้เกิดประโยชน์ คือ ฟังแล้วมันหลุดมันตกไปเรื่อยเพราะความไม่ค่อยสนใจ เพราะฉะนั้น เราควรพยายามเก็บเข้ามาอยู่ในจิตใจ แล้วเมื่อได้ยินได้ฟังจากอาจารย์ หรืออ่านตามหนังสือธรรมะ ก็ให้นำไปพินิจพิจารณาดัดแปลงแก้ไขจิตใจของตนให้คิดไปในทางที่ไม่เป็นข้าศึกต่อตน

การแสดงออกแต่ละอย่างล้วนออกไปจากใจ ถ้าใจไม่ได้รับการอบรมแล้ว การแสดงออกทางด้านการประพฤติจะไม่น่าดูเลย ซึ่งจะกระทบกระเทือนกับทั้งตนเองและผู้อื่น การแสดงออกไปเพื่อตนเองในทางผิดธรรมย่อมทำความชั่วที่ว่า เมื่อตัวเองมันมาทำลายตนเองเข้าไปอีก โลกกับธรรม เรากับธรรม จึงขัดแย้งกัน

ถ้าเห็นแก่ธรรม การเห็นแก่ตัวก็ค่อยเบาบางและกระจายตัวออกไป ความเห็นแก่ธรรมคือความถูกต้องดีงามจะเข้าแทนที่อะไร สมควรหรือไม่ จิตจะคิดอ่านไตร่ตรอง และพิจารณาดู ว่า เมื่อเห็นไม่สมควรแล้ว แม้อยากคิด อยากพูด อยากทำ ก็ระงับได้ ไม่เหนือสติธรรม ปัญญาธรรมไปได้ เพราะจิตเป็นผู้บงการที่มีธรรมประจำตัว ทุกสิ่งทุกอย่างจะเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เพราะแสดงออกไป ตั้งแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม จากจิตใจที่บงการด้วยธรรม ที่เรียกว่า การพัฒนาจิตใจ (ที่มา : โลกทิพย์ ฉบับที่ 147ปีที่ 8 เดือนกุมภาพันธ์ 2532)

ประโยชน์ของการพัฒนาจิต

การพัฒนาจิตตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เป็นวิชาการทางด้านจิต(จิตใจ)ที่เรียบง่าย ตรงไปตรงมา ทุกคนสามารถพิสูจน์ได้โดยง่าย ไม่เกี่ยวข้องกับความหลงเชื่อเมื่อนิสิตได้ศึกษาและทดลองฝึกปฏิบัติดูจะได้รับผล ภายในวินาทีที่ลงมือฝึกปฏิบัติ คือ จะมีความเบาสบาย สงบ ไม่มีความทุกข์ภายในจิตใจ และจิตใจบริสุทธิ์ผ่องใส โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ เพราะเป็นเรื่องของการใช้สติปัญญาของตนเอง

ความทุกข์ทางจิตใจของนิสิตที่น่าจะพบได้บ่อยเมื่อเกิด "ความเกินความพอเหมาะพอควร (นอกทางสายกลาง)" ในเรื่องต่างๆ เช่น ความวิตกกังวล ความเครียด ความเหนื่อยอ่อน การพักผ่อนไม่เพียงพอ ปัญหาสุขภาพ การเจ็บป่วย การเดินทาง ค่าใช้จ่าย ความอยากได้ อยากมี อยากเป็น ความรัก ความหลงเชื่อ ความไม่อยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น ความโกรธ ความไม่เท่าเทียม ความเซ็ง ความเบื่อหน่าย ความท้อแท้ ความพ่ายแพ้ ความไม่สมหวัง ความเสียใจ ความไม่สบายใจที่เกินความพอเหมาะพอควร เป็นต้น. ความทุกข์ทางจิตใจที่เกิดจากความเกินพอดีในเรื่องต่างๆ ดังกล่าว สามารถป้องกันและดับได้โดยง่าย ด้วยการปฏิบัติธรรมอย่างง่ายๆ ในชีวิตประจำวันการมีสติในการใช้ข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ ทำการรู้เห็นและควบคุมความคิดให้เป็นไปตามหลักธรรม จึงมีประโยชน์อย่างมากมายต่อนิสิต ทั้งด้านการศึกษาและการดำเนินชีวิตอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ :-

ประโยชน์ด้านการศึกษา

การฝึกพัฒนาจิตใจของตนเองในด้านสติ ด้วยการศึกษาเรื่องสติและฝึกเจริญสติเป็นประจำ จะทำให้นิสิตมีสติตั้งมั่น(มีความตั้งใจแน่วแน่)ในการฟังคำบรรยาย ไม่เผลอสติ ไม่คิดฟุ้งซ่าน ไม่คิดและทำกิจอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการศึกษา จึงทำให้มีการคิด พิจารณา ทำความเข้าใจ จดจำ และบันทึกเนื้อหาที่สำคัญของคำบรรยายไว้ได้เป็นอย่างดี เป็นเหตุให้ผลของการศึกษาดีขึ้น ตามกำลังความสามารถของข้อมูลด้านสติปัญญาทางโลกและข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมที่มีอยู่ในความจำขณะนั้น ถ้าไม่มีสติในการฟัง หรือมีสติน้อย ความคิดฟุ้งซ่านก็มักจะมากขึ้น อาจมีการใช้เวลาไปคิดและทำเรื่องอื่นบ่อยขึ้น ทำให้ความสามารถของสมองในการคิดและการจดจำลดลง และผลการเรียนก็จะต่ำลงด้วยการฝึกฝนตนเองให้มีสติอยู่ตลอดเวลาในการฟังคำบรรยาย จะทำให้สมองของนิสิตมีข้อมูลด้านสติมากขึ้น พอนานเข้า สติในการฟังคำบรรยายก็จะมีมากขึ้น ความฟุ้งซ่านก็จะลดลง เป็นผลให้เกิดการพัฒนาความสามารถของการมีสติในการศึกษาดีขึ้นตามลำดับ และผลของการศึกษาก็จะดีขึ้นด้วยเมื่อนิสิตมีสติมากขึ้น มีข้อมูลสติปัญญาทางวิชาการมากขึ้น การศึกษาในเวลาต่อมาจะง่ายขึ้นเพราะมีข้อมูลในความจำมาใช้ประกอบการทำความเข้าใจได้มากขึ้น เป็นผลให้ความทุกข์ต่างๆ ในเรื่องของการศึกษาและเรื่องที่เกี่ยวข้องลดลง

การพัฒนาจิตโดยการเพิ่มพูนข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมอย่างง่ายๆ และมีคุณค่าไว้ในความจำ พร้อมทั้งมีสติในการใช้ข้อมูลดังกล่าวในการดำเนินชีวิต จะทำให้นิสิตมีสติในการรู้ดีรู้ชั่ว รู้ถูกรู้ผิด รู้ว่าอะไรควรคิดและควรทำ รู้ว่าอะไรไม่ควรคิดและไม่ควรทำ ถ้านิสิตมีสติในการไม่คิดชั่ว(ไม่คิดอกุศล)และไม่ทำชั่ว คงมุ่งแต่การคิดดี(คิดแต่กุศล)และทำแต่ความดี จะเป็นผลให้นิสิตมุ่งหน้าไปในด้านของการศึกษาตามหน้าที่ความรับผิดชอบ แทนที่จะเสียเวลาไปกับการคิดฟุ้งซ่าน การคิดและทำกิจที่เป็นอกุศล ซึ่งเป็นผลร้ายต่อการศึกษาโดยตรง

ประโยชน์ด้านการดำเนินชีวิต

การพัฒนาจิตใจของตนเอง ด้วยการศึกษาธรรมและปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดการเพิ่มพูนข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ และใช้ข้อมูลดังกล่าวในการดำเนินชีวิตประจำวัน จะเป็นผลดีต่อจิตใจดังต่อไปนี้ 1. ส่งเสริมสุขภาพจิตให้มีความเข้มแข็ง และอดทนต่อความยากลำบากต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ทุกเมื่อในขณะดำเนินชีวิต รวมทั้งในยามเจ็บป่วย โดยไม่มีความทุกข์ทางจิตใจ เช่นเดียวกันกับการมีสุขภาพกายที่ดี ทำให้สามารถต่อสู้กับภารกิจทางกาย และความเจ็บป่วยต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

2. ป้องกันความทุกข์ทางจิตใจได้ทุกขณะ เพราะเมื่อสมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ สมองก็จะทำหน้าที่ในการใช้ข้อมูลดังกล่าว เพื่อการป้องกันไม่ให้เกิดความทุกข์ทางจิตใจคล้ายอัตโนมัติ ถ้ามีการศึกษาและฝึกฝนจนชำนาญ เช่นเดียวกันกับการที่สมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางโลกในเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุ ซึ่งสมองก็จะทำหน้าที่ได้เองคล้ายอัตโนมัติ ถ้าได้ศึกษาและฝึกซ้อมมาก่อน

3. รักษาความทุกข์ทางจิตใจได้ทุกขณะ เพราะเมื่อสมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ สมองก็จะสามารถทำหน้าที่ในการใช้ข้อมูลดังกล่าว เพื่อการรักษาความทุกข์ทางจิตใจที่กำลังมีอยู่ได้ทุกขณะที่ต้องการ เช่นเดียวกันกับการที่สมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางโลกและใช้ข้อมูลดังกล่าวในการรักษาความทุกข์ทางกายที่เกิดขึ้นเมื่อต้องการรักษา ซึ่งเป็นการพึ่งพาข้อมูลสติปัญญาของตนเอง

4. ฟื้นฟูจิตใจภายหลังการเจ็บป่วยและหลังจากมีความทุกข์ เพราะเมื่อสมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ สมองก็จะทำหน้าที่ในการใช้ข้อมูลดังกล่าว เพื่อทำการฟื้นฟูจิตใจได้อย่างรวดเร็วตามเจตนาของเจ้าของสมองทำงานตามที่นิสิตมีเจตนา

ในการทำกิจต่างๆ จะสังเกตว่า สมองจะทำหน้าที่ในการคิดและในการทำกิจต่างๆ ตามที่มีเจตนา เช่น เมื่อเกิดมีเจตนาว่า จะเดินไปที่ใดที่หนึ่ง สมองก็จะทำหน้าที่ในการควบคุมให้มีการเดินไปยังที่นั้น ซึ่งเป็นการแสดงว่า สมองจะตอบสนองต่อความคิดที่เป็นเจตนาเสมอ. ความเจตนาจึงมีอิทธิพลมาก เช่น บางคนคิดฆ่าตัวตาย ต่อมามีเจตนาฆ่าตัวตาย ร่างกายก็ยังต้องตอบสนองความเจตนานั้นได้เมื่อรู้ชัดว่า สมองทำงานเช่นนี้เอง จึงเป็นเรื่องง่ายที่จะฝึกควบคุมความคิดและ การกระทำต่างๆ โดยการการตั้งเจตนา ตั้งใจ(มีสติ) และมีความเพียรฝึกปฏิบัติตามที่ได้ ตั้งเจตนาไว้ในขณะฝึกใหม่ๆ สมองยังทำงานใหม่ได้ไม่คล่องแคล่ว และทำไม่ได้ต่อเนื่องนัก จึงมักจะให้มีการเผลอสติบ้าง คิดฟุ้งซ่านบ้าง คิดและทำเรื่องอื่นๆ บ้าง แต่เมื่อมีความเพียรในการฝึกฝนตนเองอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำ ไม่นานนัก ก็จะเกิดความชำนาญ นั่นคือสมองทำหน้าที่ได้ดี สามารถทำตามเจตนาได้นาน และทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หลักการสำคัญในการพัฒนาจิตนั้นง่ายนิดเดียว

หลักการสำคัญในการพัฒนาจิตนั้นง่ายนิดเดียว คือ จะต้องศึกษาธรรมสั้นๆ ง่ายๆ แต่ตรงประเด็น และต้องฝึกปฏิบัติธรรมอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความชำนาญในการรู้เห็นและควบคุมความคิด ให้เป็นไปตามหลักธรรมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งมีองค์ประกอบโดยย่อ ดังนี้ :-

1. มีสติปัญญาเห็นชอบว่า การพัฒนาจิตมีประโยชน์โดยตรงต่อการศึกษาและดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ การเห็นชอบเช่นนี้ จะทำให้เกิดศรัทธาที่จะศึกษาธรรมและฝึกปฏิบัติธรรม เพื่อการพัฒนาจิตใจของตนเองอย่างจริงจัง

2. มีสติจดจำหลักธรรมง่ายๆ และทบทวนบ่อยๆ ว่า "เราจะไม่คิดอกุศลและไม่ทำอกุศล แต่จะคิดกุศลและทำกุศลโดยไม่หวังผลตอบแทนใดๆ ด้วยความโลภ และรักษาจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใสอยู่เสมอ". หลักธรรมดังกล่าวไม่มีการสงวนลิขสิทธิ์ ทุกชาติ ทุกศาสนา ทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพก็นำไปใช้ได้หมด

3. มีความเพียรที่จะมีสติ (ตั้งใจ) ในการรู้เห็นความคิดและการกระทำต่างๆ ทันทีที่รู้เห็นความคิดหรือการกระทำต่างๆ ไม่เป็นตามหลักธรรม (ในข้อ 2) ก็ให้หยุความคิดและการกระทำนั้นๆ ทันที เมื่อฝึกทำเช่นนี้เป็นประจำ อีกไม่นานนัก สมองก็จะทำหน้าที่ได้เองคล้ายอัตโนมัติหลักการตามข้อที่ 1 คือการสร้างศรัทธาและเจตนาที่ถูกต้อง หลักการตามข้อที่ 2 คือจดจำข้อมูลหลักธรรม หลักการตามข้อที่ 3 คือ มีสติและมีความเพียรในการดำเนินชีวิตตามหลักธรรม

วิธีการในการพัฒนาจิตนั้นง่ายนิดเดียว

การพัฒนาจิตอย่างถูกวิธีเป็นเรื่องง่ายนิดเดียว ไม่ต้องมีพิธีการ ไม่ต้องมีขั้นตอน เพราะเป็นเรื่องตรงไปตรงมา ขอแต่เพียงให้นิสิตเห็นคุณค่า(มีศรัทธา)อย่างจริงใจ แล้วมีความเจตนา ความตั้งใจ และมีความเพียรอย่างจริงจังที่จะทำให้เกิดผลตามที่ได้ตั้งเจตนาเอาไว้ ในทันที่ที่ลงมือปฏิบัติ

วิธีฝึกพัฒนาจิตในด้านการศึกษาทำได้โดยง่าย กล่าวคือ ในขณะฟังคำบรรยายหรือฝึกปฏิบัติงานอยู่นั้น ให้นิสิตฝึกตั้งเจตนาและทบทวนเจตนาว่า จะฝึกมีความตั้งใจ และฝึกมีความเพียรที่จะมีสติอย่างต่อเนื่องในการรู้เห็นและควบคุมความคิด ให้มีการคิดและพิจารณาเนื้อหาของบทเรียนด้วยความตั้งใจ ไม่เผลอสติ ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่คิดและทำเรื่องอื่นใด ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เมื่อฝึกไปนานเข้า นิสิตก็จะมีความชำนาญมากขึ้น จนสมองสามารถทำได้เองคล้ายอัตโนมัติ

วิธีฝึกพัฒนาจิตในด้านการดำเนินชีวิต คือ ในขณะดำเนินชีวิตประจำวัน ให้ฝึกตั้งเจตนาว่า จะมีความตั้งใจ และมีความเพียรที่จะมีสติอย่างต่อเนื่องในการควบคุมความคิดและการกระทำต่าง ๆ ให้เป็นไปตามหลักธรรมง่าย ๆ ที่ได้กล่าวถึงแล้ว. ในทันทีที่นิสิตรู้เห็นว่า ความคิดหรือการกระทำต่าง ๆ ที่ไม่ตรงตามหลักธรรม ก็ให้หยุดความคิดและการกระทำนั้น ๆ ทันที ขณะเดียวกัน อย่างปล่อยให้มีความคิดฟุ้งซ่านเกิดขึ้นบ่อยหรือนาน เพราะอาจเกิดความคิดฟุ้งซ่านที่เป็นอกุศลและทำอกุศลได้โดยไม่รู้ตัว เพราะขณะเผลอสติไปคิดอยู่นั้น มักจะไม่สามารถควบคุมความคิดให้เป็นไปตามเจตนาที่ตั้งไว้ได้

ควรแสวงหาความรู้ในการพัฒนาจิตตลอดไป

เมื่อยังไม่ตาย ทุกคนควรศึกษาหาความรู้ไปทั้งทางโลกและทางธรรมควบคู่กันไป เพื่อการศึกษา ปฏิบัติงาน และดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพสำหรับการศึกษาหาความรู้ทางธรรม ควรศึกษาเรื่องอริยสัจ 4 ซึ่งเป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา และฝึกปฏิบัติธรรมตามมรรคมีองค์ 8 อย่างจริงจังต่อไปเรื่อย จนกว่าจะจบชีวิตอริยสัจ 4 มีเนื้อหาน้อย พระพุทธเจ้าเปรียบเทียบกับใบไม้เพียงกำมือเดียวเท่านั้นเอง แต่เมื่อนำไปปฏิบัติจะทำให้เกิดการพัฒนาจิตใจเพื่อการศึกษาและดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพพฤติกรรมเป็นการแสดงออกของบุคคล ทั้งส่วนที่เป็นพฤติกรรมภายใน และพฤติกรรมภายนอก มนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้งหลายจึงมีการแสดงพฤติกรรมได้อย่างหลากหลาย ขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้งภายในคือจิตใจ และปัจจัยภายนอกคือสภาพแวดล้อมหรือสถานการณ์ต่าง ๆที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรม

5.ความหมายของพฤติกรรม

คำว่า”พฤติกรรม”หมายถึง [1]พฤติกรรมของมนุษย์ไม่ได้เกิดขึ้นจากสัญชาติญาณเพียงอย่างเดียว หรือไม่ได้เกิดขึ้นเพียงถูกแรงกระตุ้นไม่ว่าจากภายนอกหรือภายในเท่านั้น มนุษย์มีความตระหนัก มีความตั้งใจ และสามารถเลือกพฤติกรรมได้ ฉะนั้นความรู้สึกนึกคิดที่อยู่ภายในจึงมีบทบาทสำคัญเกี่ยวข้องกับพฤติกรรม มนุษย์มีจิตสำนึกชั่วดีเพราะเขาตระหนักไนตัวเองว่าพฤติกรรมของเขาไม่ใช่มีไว้เพียงเพื่อความอยู่รอดขณะนี้ แต่เขาต้องรับผิดชอบต่อพฤติกรรม มโนธรรมภายในจะแยกแยะและบอกอะไรดี อะไรไม่ดี เวลาที่คิดไม่ดี พูดไม่ดี รู้สึกไม่ดี ทำไม่ดีจิตสำนึกจะฟ้องผิด ถึงแม้ว่าแต่ละศาสนาจะสอนเรื่องอะไรถูกอะไรผิดไม่เหมือนกัน แต่สิ่งที่เหมือนกันคือถ้าใครฝ่าฝืนมีพฤติกรรมล่วงละเมิดหรือละเว้นพฤติกรรมที่ควรจะกระทำ เขาจะรู้สึกผิด เกิดทุกข์ภายใน เพราะฉะนั้นมนุษย์ทั่วโลกจึงมีศาสนา มีลัทธิ มีปรัชญาต่างๆ เพื่อกำหนดพฤติกรรมพร้อมทั้งชี้ทางออกให้กับผู้ละเมิดและให้รางวัลแก่ผู้ทำดีทุกศาสนาสอนให้มนุษย์ต้องทำดี นั่นคือเขาต้องมีพฤติกรรมที่ดีไม่ว่าจะเป็นด้วยทางกาย ทางวาจา และทางความคิด นั่นหมายความว่าการกระทำที่เป็นส่วนรับผิดชอบของกายที่เราเรียกว่าอวัยวะจะต้องไม่ถูกนำไปใช้ในสิ่งที่ผิดกฎหมาย ผิดศีลธรรม นำความเสื่อมเสียและความเดือดร้อนมาสู่ผู้อื่นและตนเอง เช่นเดียวกับวาจาจะต้องไม่พูดตลบตะแลง มุสา หยาบโลน ใส่ร้ายป้ายสี แช่งด่า หลอกลวง หรือความคิดไม่คิดทำลายทำร้ายและใช้จินตนาการในเรื่องไม่ดีไม่งาม กาย วาจา ความคิดจะถูกนำมาใช้สิ่งที่ดีงาม เสริมสร้างสิ่งที่เป็นคุณธรรมและการพัฒนา
พฤติกรรมที่นำความสุขสวัสดีแก่มนุษย์ต้องประสานสอดคล้องกันระหว่างพฤติกรรมภายนอกกับคุณธรรมภายใน พฤติกรรมที่เห็นภายนอกไม่อาจบอกคุณธรรมภายในเสมอไป ไม่ใช่ทุกคนทำดีจากเจตนาที่ดี ในขณะเดียวกันไม่ใช่ทุกคนที่เจตนาดีจะทำในสิ่งที่ดีและถูกต้องเสมอไปมีคนมากมายทำดีเพื่อหวังผลประโยชน์บางอย่างที่เราเรียกกันว่า ทำดีเอาหน้า แต่มีหลายคนทำในสิ่งที่ผิดเพราะรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทำไปเพราะความเขลาหรือถูกชักนำไปในทางที่ผิด ไม่ว่าเราจะทำผิดด้วยเจตนาดีหรือทำดีด้วยเจตนาผิด ทั้งสองนำความทุกข์ใจทั้งสิ้น ใครเล่าจะช่วยให้เราพ้นทุกข์นี้ไปได้ ความทุกข์เช่นนี้ไม่ใช่เราเท่านั้นที่เผชิญกับมัน แม้แต่อัครทูตเปาโลบุคคลสำคัญผู้เผยแพร่ธรรมผู้ยิ่งใหญ่เมื่อกว่า 2000 ปีมาแล้วก็รู้สึกเช่นกัน ท่านระบายความรู้สึกคำพูดเป็นตัวอักษรว่า
“ข้าพเจ้าไม่ได้ทำดีที่ข้าพเจ้าต้องทำ แต่สิ่งชั่วซึ่งข้าพเจ้าไม่ต้องการทำ ข้าพเจ้ากลับทำเรื่อข้าพเจ้าเป็นคนน่างสังเวชอะไรเช่นนี้ ใครจะช่วยข้าพเจ้าให้พ้นจากกายแห่งความตายนี้ได้” โรม 7:19,24แต่ท่านอาจารย์เปาโลได้พบทางออกที่ขจัดความรู้สึกสังเวชในตัวเองนี้โดยกล่าวว่า “ขอบพระคุณพระเจ้า ข้าพเจ้าพ้นได้โดยทางพระเยซูคริสต์องค์พระผู้เป็นเจ้าของเรา”โรม 7:25พระเยซูช่วยเราโดยทางพระวิญญาณ ด้วยการพัฒนาคุณลักษณะภายใน และเสริมพลังให้มีพฤติกรรมภายนอกให้สอดคล้องคุณธรรมภายใน ในระหว่างความไม่สมบูรณ์ การอภัยจากพระเจ้าช่วยชูกำลังใให้แก่เรา จงยอมให้พระวิญญาณสร้างภายใน จงตั้งใจที่จะทำภายนอกให้ถูกต้อง พระเจ้าจะอยู่ด้วยคอยช่วยชูกำลัง

ถ้าหากว่าสังคมนี้มีแต่คนดีจะเป็นอย่างไร สังคมไทยเรามีค่านิยมที่แปลก คือ[2] คนไทยให้เกียรติคนเก่งมากกว่าให้เกียรติคนดี การให้เกียรติกับคนเก่งไม่ใช่สิ่งที่ผิด แต่คนไทยให้เกียรติคนเก่งมากเสียจนลืมคำนึงถึงพฤติกรรม ลืมคำนึงถึงการกระทำของคนเก่งว่าดีหรือไม่ดี ถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง เป็นไปตามแบบแผนความประพฤติปฏิบัติอันดีงามหรือไม่ กลายเป็นว่าคนในสังคมต้องการเป็นคนเก่งมากขึ้น เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของสังคม เพื่อสนองความต้องการของตนเอง โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่รุนแรงตามมา คือ สังคมมีคนเก่งมากกว่ามีคนดี ทุกท่านครับการมีคนเก่งมากย่อมเกิดประโยชน์ต่อการก้าวไปข้างหน้าของประเทศ แต่กลับเป็นที่น่าเสียดาย ที่ภาพความเจริญก้าวหน้าของประเทศกลับต้องหยุดชะงักลงด้วยคนเก่งบางกลุ่ม คนเก่งเหล่านั้นกลับนำความเก่งที่คนในสังคมยกย่องมาข่มใส่กันเอง เอาความเก่งมาแสวงหาซึ่งประโยชน์ใส่ตนและพวกพ้องมากกว่าการแบ่งปันแก่ส่วนรวม สังคมนี้จึงเริ่มเสื่อมลงและล่าถอยลงหุบเหวของการโกงกิน การเอื้อประโยชน์อย่างมิชอบ ความเท่าเทียม ความยุติธรรมเริ่มมลายลง ความเก่งที่ระคนไปด้วยความเห็นแก่ได้ เห็นแก่มี ได้บิดเบือนการมองเห็นของคนในสังคมให้ผิดเพี้ยนไป คนในสังคมกลับมองว่าคนดีนั้นเป็นพวกอ่อนแอ คนดีโดนสายตาของสังคมหยามเหยียดศักดิ์ศรีอย่างไม่เหลือดี คนดีกลายเป็นคนที่ไร้ที่ยืนบนสังคม
สังคมในปัจจุบันจึงวุ่นวาย มีการแก่งแย่ง แข่งขันกันไม่สิ้นสุด เกิดความสับสนนานัปการขึ้นในสังคม เพราะมีแต่คนเก่งที่ไร้ซึ่งความเป็นคนดี ทุกท่านครับความเหิมเกริมของคนเก่งที่ขาดความดีประดับตัว ได้สร้างความเสื่อมแก่สังคมอย่างต่อเนื่อง จากจุดเล็กๆก็กลายเป็นช่องว่างที่กว้างใหญ่และเริ่มแผ่รัศมีไปอย่างไม่สิ้นสุด ทุกท่านครับการจะหยุดความเสื่อมถอยของสังคมได้นั้น เราต้องอาศัยคนดี คนดีที่มีความเก่งในตัว คนดีและมีความสามารถที่จะมารั้งสังคมที่เสื่อมขึ้นมาจากหุบเหวแห่งการโกงกิน การเอื้อประโยชน์อย่างมิชอบ เพื่อปรับให้กลายเป็นสังคมที่ดี มีความยุติธรรม มีความเสมอภาคแก่ทุกฝ่ายอย่างแท้จริง การเป็นคนเก่งแล้ว เราควรต้องเป็นคนดีด้วย สังคมจึงจะสงบสุข ดังคำกล่าวที่ว่า “คนดีคนเดียวย่อมทำให้โลกร่มเย็นได้” ฉะนั้นคนในสังคมจะต้องเริ่มปรับมุมมองใหม่ เราให้เกียรติคนดี เราส่งเสริมคนดีให้มีมากขึ้น สร้างที่ยืนให้คนดี มุ่งให้คนในสังคมหันมาทำความดีมากขึ้น ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตอนหนึ่งว่า “คนเรานั้นต้องหมั่นทำความดีบ่อยๆ เพื่อให้จิตคุ้นชินกับความดี เพราะถ้าไม่ทำดี ก็จะเป็นการเปิดโอกาสให้ความชั่วเข้ามาแทรกแซงได้ง่าย” เมื่อเป็นคนดีแล้วก็มาพัฒนาความเก่ง พัฒนาความสามารถโดยอยู่บนพื้นฐานของจริยธรรม ศีลธรรมอันเป็นเครื่องหมายของคนดี การจะเป็นคนดีของสังคมเราต้องรู้จักคุณสมบัติของคนดีในสังคมเสียก่อน ซึ่งเส้นทางสู่การเป็นคนดีสามารถกระทำได้ดังนี้ คือ คนดีต้องมีคุณสมบัติการกระทำ 3 ประการ ประการที่ 1 การกระทำด้วยกาย เรียกว่า กายกรรม กล่าวคือ การกระทำในสิ่งที่ดี ไม่เบียดเบียนผู้อื่นให้เกิดความเดือดเนื้อร้อนใจ ประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในกรอบของศีลธรรมและ จริยธรรมอันดีงาม กระทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่สังคมประการที่ 2 การกระทำด้วยวาจา เรียกว่า วจีกรรม กล่าวคือ การพูดจาดี มีความอ่อนหวาน ซื่อตรง พูดในสิ่งที่สร้างสรรค์ ไม่พูดปดหรือพูดหลอกลวงผู้อื่นให้หลงเชื่อเพื่อให้ได้มาซึ่ง ผลประโยชน์แก่ตนประการที่ 3 การกระทำด้วยใจ เรียกว่า มโนกรรม กล่าวคือ การเป็นผู้มีความคิดด้วยจิตอันบริสุทธิ์ คิดในสิ่งที่ดีมีประโยชน์ คิดในทางที่สร้างสรรค์ ไม่คิดร้ายแก่ผู้อื่นเพียงเพราะผลประโยชน์
เมื่อคนในสังคมปฏิบัติตามคุณสมบัติการกระทำทั้ง 3 อย่างครบถ้วนแล้ว ก็เกิดเป็นคุณค่าของคนดี เมื่อคนในสังคมมองเห็นคุณค่าของคนดี สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วย ผู้คนที่มีจิตใจโอบอ้อมอารี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว มีความสามัคคีกลมเกลียวกัน ประกอบอาชีพที่สุจริต มีความขยันขันแข็งและยึดมั่นในศีลธรรม ส่งผลให้สังคมนั้นมีแต่ความผาสุก มีความเจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว ทุกท่านครับ เมื่อมีคนดี สังคมย่อมดีตาม สังคมดีในอุดมคติจะเกิดขึ้นได้เมื่อทุกคนเข้าใจและเห็นพ้องกันว่า “เป็นคนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง”

ความหมายของประชาธิปไตย
คำว่า”ประชาธิปไตย[3] คือเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมืองผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยโดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน

ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรงซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนโดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภาจากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาลอย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติการริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง

แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตามแต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลหลักการดังกล่าวสะท้อนออกมาผ่านความเสมอภาคทางกฎหมายของพลเมืองทุกคน และสิทธิเข้าถึงกระบวนการทางกฎหมายโดยเท่าเทียม ตัวอย่างเช่น ในประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ทุกเสียงมีน้ำหนักเท่ากันทั้งสิ้น และไม่มีการจำกัดอย่างไร้เหตุผลใช้บังคับกับทุกคนที่ปรารถนาเป็นผู้แทน ส่วนอิสรภาพได้มาจากสิทธิและเสรีภาพตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งโดยทั่วไปได้รับการคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ

ประชาธิปไตยถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในกรีซโบราณแต่วิธีปฏิบัติแบบประชาธิปไตยปรากฏในสังคมอยู่ก่อนแล้ว รวมทั้งเมโสโปเตเมียฟินีเซียและอินเดียวัฒนธรรมอื่นหลังกรีซได้มีส่วนสำคัญต่อวิวัฒนาการของประชาธิปไตย เช่น โรมันโบราณ[6]ยุโรป[6]และอเมริกาเหนือและใต้มโนทัศน์ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนเกิดขึ้นส่วนใหญ่จากแนวคิดและสถาบันซึ่งได้ถูกพัฒนาระหว่างยุคกลางของยุโรปและยุคภูมิธรรมในการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติฝรั่งเศส

ประชาธิปไตยถูกเรียกว่า "ระบอบการปกครองสุดท้าย" และแพร่หลายอย่างมากไปทั่วโลกสิทธิในการออกเสียงลงมติในหลายประเทศได้ขยายวงกว้างขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปจากกลุ่มค่อนข้างแคบ (เช่น ชายมั่งมีในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง ๆ) โดยนิวซีแลนด์เป็นชาติแรกที่ให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปแก่พลเมืองทุกคนใน ค.ศ. 1893 ประชาธิปไตยมักถูกเข้าใจสับสนกับระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐในบางนิยาม "สาธารณรัฐ" เป็นประชาธิปไตยรูปแบบหนึ่ง แต่นิยามอื่นทำให้ "สาธารณรัฐ" เป็นคำที่มีความหมายต่างหาก ไม่เกี่ยวข้องกันอย่างไรก็ดี แม้การดำเนินการปกครอง

ตามระบอบประชาธิปไตยแม้จะได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน แต่ต้องเผชิญกับปัญหาหลายประการที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน อย่างเช่น ข้อพิพาทเกี่ยวกับดินแดนการอพยพเข้าเมืองและการกีดกันกลุ่มประชากรบางชาติพันธุ์เป็นต้น

ประชาธิปไตยในยุคโบราณ

คำว่าประชาธิปไตยปรากฏขึ้นครั้งแรกในแนวคิดทางการเมืองและทางปรัชญาในกรีซโบราณปราชญ์เพลโตเปรียบเทียบประชาธิปไตยซึ่งเขาเรียกว่าเป็น "การปกครองโดยผู้ถูกปกครอง" ว่าเป็นรูปแบบทางเลือกสำหรับระบอบราชาธิปไตยคณาธิปไตยและเศรษฐยาธิปไตยแม้ถือว่าประชาธิปไตยแบบเอเธนส์เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง แต่เดิมประชาธิปไตยแบบเอเธนส์มีลักษณะเด่นอยู่สองประการ คือ มีการคัดเลือกพลเมืองธรรมดาจำนวนมากเข้าสู่ระบบราชการและศาลและมีการชุมนุมของพลเมืองทุกชนชั้น[19]

พลเมืองทุกคนมีสิทธิอภิปรายและลงมติในสภาซึ่งเป็นที่ออกกฎหมายของนครรัฐ ทว่า ความเป็นพลเมืองเอเธนส์นั้นรวมเฉพาะชายทุกคนซึ่งเกิดจากบิดาที่เป็นพลเมือง และผู้ที่กำลัง "รับราชการทหาร" ระหว่างอายุ 18-20 ปีเท่านั้น ซึ่งไม่รวมผู้หญิงทาสคนต่างชาติ (กรีก:μετοίκος,metoikos) และชายอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ จากจำนวนผู้อยู่อาศัยกว่า 250,000 คน มีผู้ได้รับสถานะพลเมืองเพียง 30,000 คน และมีเพียง 5,000 คนเท่านั้นที่มักปรากฏตัวในสมัชชาประชาชน เจ้าพนักงานและผู้พิพากษาของรัฐบาลจำนวนมากเป็นการกำหนดเลือก มีเพียงเหล่าแม่ทัพและเจ้าพนักงานเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่มาจากการเลือกตั้ง

อ้างว่าเกาะอาร์วัด (ปัจจุบันคือประเทศซีเรีย) ซึ่งชาวฟินิเซียก่อตั้งขึ้นเมื่อสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เป็นตัวอย่างหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยที่พบในโลกซึ่งที่นั่น ประชาชนถืออำนาจอธิปไตยของตน และอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าเป็นไปได้ คือ ประชาธิปไตยยุคเริ่มแรกอาจมาจากนครรัฐสุเมเรียนฝ่ายเวสาลีซึ่งปัจจุบันคือรัฐพิหารประเทศอินเดียเป็นรัฐบาลแรก ๆ ของโลกที่มีองค์ประกอบอันพิจารณาได้ว่ามีการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นแห่งแรกของโลก (แต่มีบางคนโต้แย้งว่าการปกครองของเวสาลีนั้นไม่เป็นราชาธิปไตยก็จริง แต่น่าจะมีลักษณะเป็นคณาธิปไตยมากกว่าประชาธิปไตย) และยังปรากฏว่ามีการปกครองที่คล้ายคลึงกับประชาธิปไตยหรือคณาธิปไตยเกิดขึ้นชั่วคราวโดยชาวเมเดสช่วงศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล แต่ถึงคราวสิ้นสุดเมื่อถึงรัชกาลพระเจ้าดาไรอัสมหาราชแห่งราชวงศ์อาร์เคเมนิดผู้ทรงประกาศว่า ระบอบราชาธิปไตยที่ดีนั้นย่อมเหนือกว่าระบอบคณาธิปไตยและระบอบประชาธิปไตยทุกรูปแบบ[22]

นอกจากนั้น ยังมีการอ้างถึงสถาบันทางประชาธิปไตยในยุคเริ่มแรก โดยถือว่าเป็น "สาธารณรัฐ" อิสระในประเทศอินเดียอย่างเช่นพระสงฆ์ซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 แต่หลักฐานที่พบนั้นเลื่อนลอยและไม่สามารถหาแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้แน่ชัด นอกจากนั้น ไดโอโดรุส ปราชญ์ชาวกรีกใน การพัฒนาจิตใจ เพื่อกำจัดสิ่งรังควาน หรือทำลายจิตใจและอารมณ์ ให้จิตใจได้รับความสงบเยือกเย็น และสิ่งที่จะนำมาแก้ไข หรือซักฟอกได้นอกจากธรรมแล้วไม่มี บางทีได้ยินจากครูอาจารย์แล้ว ส่วนมากก็จะไม่เข้าถึงจิตใจ หรือ เข้าถึงได้ไม่พอที่จะให้เกิดประโยชน์ คือ ฟังแล้วมันหลุดมันตกไปเรื่อยเพราะความไม่ค่อยสนใจ เพราะฉะนั้น เราควรพยายามเก็บเข้ามาอยู่ในจิตใจ แล้วเมื่อได้ยินได้ฟังจากอาจารย์ หรืออ่านตามหนังสือธรรมะ ก็ให้นำไปพินิจพิจารณาดัดแปลงแก้ไขจิตใจของตนให้คิดไปในทางที่ไม่เป็นข้าศึกต่อตน

การแสดงออกแต่ละอย่างล้วนออกไปจากใจ ถ้าใจไม่ได้รับการอบรมแล้ว การแสดงออกทางด้านการประพฤติจะไม่น่าดูเลย ซึ่งจะกระทบกระเทือนกับทั้งตนเองและผู้อื่น การแสดงออกไปเพื่อตนเองในทางผิดธรรมย่อมทำความชั่วที่ว่า เมื่อตัวเองมันมาทำลายตนเองเข้าไปอีก โลกกับธรรม เรากับธรรม จึงขัดแย้งกัน

ถ้าเห็นแก่ธรรม การเห็นแก่ตัวก็ค่อยเบาบางและกระจายตัวออกไป ความเห็นแก่ธรรมคือความถูกต้องดีงามจะเข้าแทนที่อะไร สมควรหรือไม่ จิตจะคิดอ่านไตร่ตรอง และพิจารณาดู ว่า เมื่อเห็นไม่สมควรแล้ว แม้อยากคิด อยากพูด อยากทำ ก็ระงับได้ ไม่เหนือสติธรรม ปัญญาธรรมไปได้ เพราะจิตเป็นผู้บงการที่มีธรรมประจำตัว ทุกสิ่งทุกอย่างจะเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เพราะแสดงออกไป ตั้งแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม จากจิตใจที่บงการด้วยธรรม ที่เรียกว่า การพัฒนาจิตใจ (ที่มา : โลกทิพย์ ฉบับที่ 147ปีที่ 8 เดือนกุมภาพันธ์ 2532)

ประโยชน์ของการพัฒนาจิต

การพัฒนาจิตตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เป็นวิชาการทางด้านจิต(จิตใจ)ที่เรียบง่าย ตรงไปตรงมา ทุกคนสามารถพิสูจน์ได้โดยง่าย ไม่เกี่ยวข้องกับความหลงเชื่อเมื่อนิสิตได้ศึกษาและทดลองฝึกปฏิบัติดู จะได้รับผล ภายในวินาทีที่ลงมือฝึกปฏิบัติ คือ จะมีความเบาสบาย สงบ ไม่มีความทุกข์ภายในจิตใจ และจิตใจบริสุทธิ์ผ่องใส โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ เพราะเป็นเรื่องของการใช้สติปัญญาของตนเอง

ความทุกข์ทางจิตใจของนิสิตที่น่าจะพบได้บ่อยเมื่อเกิด "ความเกินความพอเหมาะพอควร (นอกทางสายกลาง)" ในเรื่องต่างๆ เช่น ความวิตกกังวล ความเครียด ความเหนื่อยอ่อน การพักผ่อนไม่เพียงพอ ปัญหาสุขภาพ การเจ็บป่วย การเดินทาง ค่าใช้จ่าย ความอยากได้ อยากมี อยากเป็น ความรัก ความหลงเชื่อ ความไม่อยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น ความโกรธ ความไม่เท่าเทียม ความเซ็ง ความเบื่อหน่าย ความท้อแท้ ความพ่ายแพ้ ความไม่สมหวัง ความเสียใจ ความไม่สบายใจที่เกินความพอเหมาะพอควร เป็นต้น. ความทุกข์ทางจิตใจที่เกิดจากความเกินพอดีในเรื่องต่างๆ ดังกล่าว สามารถป้องกันและดับได้โดยง่าย ด้วยการปฏิบัติธรรมอย่างง่ายๆ ในชีวิตประจำวันการมีสติในการใช้ข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ ทำการรู้เห็นและควบคุมความคิดให้เป็นไปตามหลักธรรม จึงมีประโยชน์อย่างมากมายต่อนิสิต ทั้งด้านการศึกษาและการดำเนินชีวิตอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ :-

ประโยชน์ด้านการศึกษา

การฝึกพัฒนาจิตใจของตนเองในด้านสติ ด้วยการศึกษาเรื่องสติและฝึกเจริญสติเป็นประจำ จะทำให้นิสิตมีสติตั้งมั่น(มีความตั้งใจแน่วแน่)ในการฟังคำบรรยาย ไม่เผลอสติ ไม่คิดฟุ้งซ่าน ไม่คิดและทำกิจอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการศึกษา จึงทำให้มีการคิด พิจารณา ทำความเข้าใจ จดจำ และบันทึกเนื้อหาที่สำคัญของคำบรรยายไว้ได้เป็นอย่างดี เป็นเหตุให้ผลของการศึกษาดีขึ้น ตามกำลังความสามารถของข้อมูลด้านสติปัญญาทางโลกและข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมที่มีอยู่ในความจำขณะนั้น ถ้าไม่มีสติในการฟัง หรือมีสติน้อย ความคิดฟุ้งซ่านก็มักจะมากขึ้น อาจมีการใช้เวลาไปคิดและทำเรื่องอื่นบ่อยขึ้น ทำให้ความสามารถของสมองในการคิดและการจดจำลดลง และผลการเรียนก็จะต่ำลงด้วยการฝึกฝนตนเองให้มีสติอยู่ตลอดเวลาในการฟังคำบรรยาย จะทำให้สมองของนิสิตมีข้อมูลด้านสติมากขึ้น พอนานเข้า สติในการฟังคำบรรยายก็จะมีมากขึ้น ความฟุ้งซ่านก็จะลดลง เป็นผลให้เกิดการพัฒนาความสามารถของการมีสติในการศึกษาดีขึ้นตามลำดับ และผลของการศึกษาก็จะดีขึ้นด้วยเมื่อนิสิตมีสติมากขึ้น มีข้อมูลสติปัญญาทางวิชาการมากขึ้น การศึกษาในเวลาต่อมาจะง่ายขึ้นเพราะมีข้อมูลในความจำมาใช้ประกอบการทำความเข้าใจได้มากขึ้น เป็นผลให้ความทุกข์ต่างๆ ในเรื่องของการศึกษาและเรื่องที่เกี่ยวข้องลดลง

การพัฒนาจิตโดยการเพิ่มพูนข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมอย่างง่ายๆ และมีคุณค่าไว้ในความจำ พร้อมทั้งมีสติในการใช้ข้อมูลดังกล่าวในการดำเนินชีวิต จะทำให้นิสิตมีสติในการรู้ดีรู้ชั่ว รู้ถูกรู้ผิด รู้ว่าอะไรควรคิดและควรทำ รู้ว่าอะไรไม่ควรคิดและไม่ควรทำ ถ้านิสิตมีสติในการไม่คิดชั่ว(ไม่คิดอกุศล)และไม่ทำชั่ว คงมุ่งแต่การคิดดี(คิดแต่กุศล)และทำแต่ความดี จะเป็นผลให้นิสิตมุ่งหน้าไปในด้านของการศึกษาตามหน้าที่ความรับผิดชอบ แทนที่จะเสียเวลาไปกับการคิดฟุ้งซ่าน การคิดและทำกิจที่เป็นอกุศล ซึ่งเป็นผลร้ายต่อการศึกษาโดยตรง

ประโยชน์ด้านการดำเนินชีวิต

การพัฒนาจิตใจของตนเอง ด้วยการศึกษาธรรมและปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดการเพิ่มพูนข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ และใช้ข้อมูลดังกล่าวในการดำเนินชีวิตประจำวัน จะเป็นผลดีต่อจิตใจดังต่อไปนี้ :-

1. ส่งเสริมสุขภาพจิตให้มีความเข้มแข็ง และอดทนต่อความยากลำบากต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ทุกเมื่อในขณะดำเนินชีวิต รวมทั้งในยามเจ็บป่วย โดยไม่มีความทุกข์ทางจิตใจ เช่นเดียวกันกับการมีสุขภาพกายที่ดี ทำให้สามารถต่อสู้กับภารกิจทางกาย และความเจ็บป่วยต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

2. ป้องกันความทุกข์ทางจิตใจได้ทุกขณะ เพราะเมื่อสมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ สมองก็จะทำหน้าที่ในการใช้ข้อมูลดังกล่าว เพื่อการป้องกันไม่ให้เกิดความทุกข์ทางจิตใจคล้ายอัตโนมัติ ถ้ามีการศึกษาและฝึกฝนจนชำนาญ เช่นเดียวกันกับการที่สมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางโลกในเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุ ซึ่งสมองก็จะทำหน้าที่ได้เองคล้ายอัตโนมัติ ถ้าได้ศึกษาและฝึกซ้อมมาก่อน

3. รักษาความทุกข์ทางจิตใจได้ทุกขณะ เพราะเมื่อสมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ สมองก็จะสามารถทำหน้าที่ในการใช้ข้อมูลดังกล่าว เพื่อการรักษาความทุกข์ทางจิตใจที่กำลังมีอยู่ได้ทุกขณะที่ต้องการ เช่นเดียวกันกับการที่สมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางโลกและใช้ข้อมูลดังกล่าวในการรักษาความทุกข์ทางกายที่เกิดขึ้นเมื่อต้องการรักษา ซึ่งเป็นการพึ่งพาข้อมูลสติปัญญาของตนเอง

4. ฟื้นฟูจิตใจภายหลังการเจ็บป่วยและหลังจากมีความทุกข์ เพราะเมื่อสมองมีข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรมในความจำ สมองก็จะทำหน้าที่ในการใช้ข้อมูลดังกล่าว เพื่อทำการฟื้นฟูจิตใจได้อย่างรวดเร็วตามเจตนาของเจ้าของสมองทำงานตามที่นิสิตมีเจตนา

ในการทำกิจต่างๆ จะสังเกตว่า สมองจะทำหน้าที่ในการคิดและในการทำกิจต่างๆ ตามที่มีเจตนา เช่น เมื่อเกิดมีเจตนาว่า จะเดินไปที่ใดที่หนึ่ง สมองก็จะทำหน้าที่ในการควบคุมให้มีการเดินไปยังที่นั้น ซึ่งเป็นการแสดงว่า สมองจะตอบสนองต่อความคิดที่เป็นเจตนาเสมอ. ความเจตนาจึงมีอิทธิพลมาก เช่น บางคนคิดฆ่าตัวตาย ต่อมามีเจตนาฆ่าตัวตาย ร่างกายก็ยังต้องตอบสนองความเจตนานั้นได้เมื่อรู้ชัดว่า สมองทำงานเช่นนี้เอง จึงเป็นเรื่องง่ายที่จะฝึกควบคุมความคิดและ การกระทำต่างๆ โดยการการตั้งเจตนา ตั้งใจ(มีสติ) และมีความเพียรฝึกปฏิบัติตามที่ได้ ตั้งเจตนาไว้ในขณะฝึกใหม่ๆ สมองยังทำงานใหม่ได้ไม่คล่องแคล่ว และทำไม่ได้ต่อเนื่องนัก จึงมักจะให้มีการเผลอสติบ้าง คิดฟุ้งซ่านบ้าง คิดและทำเรื่องอื่นๆ บ้าง แต่เมื่อมีความเพียรในการฝึกฝนตนเองอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำ ไม่นานนัก ก็จะเกิดความชำนาญ นั่นคือสมองทำหน้าที่ได้ดี สามารถทำตามเจตนาได้นาน และทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หลักการสำคัญในการพัฒนาจิตนั้นง่ายนิดเดียว

หลักการสำคัญในการพัฒนาจิตนั้นง่ายนิดเดียว คือ จะต้องศึกษาธรรมสั้นๆ ง่ายๆ แต่ตรงประเด็น และต้องฝึกปฏิบัติธรรมอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความชำนาญในการรู้เห็นและควบคุมความคิด ให้เป็นไปตามหลักธรรมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งมีองค์ประกอบโดยย่อ ดังนี้ :-

1. มีสติปัญญาเห็นชอบว่า การพัฒนาจิตมีประโยชน์โดยตรงต่อการศึกษาและดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ การเห็นชอบเช่นนี้ จะทำให้เกิดศรัทธาที่จะศึกษาธรรมและฝึกปฏิบัติธรรม เพื่อการพัฒนาจิตใจของตนเองอย่างจริงจัง

2. มีสติจดจำหลักธรรมง่ายๆ และทบทวนบ่อยๆ ว่า "เราจะไม่คิดอกุศลและไม่ทำอกุศล แต่จะคิดกุศลและทำกุศลโดยไม่หวังผลตอบแทนใดๆ ด้วยความโลภ และรักษาจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใสอยู่เสมอ". หลักธรรมดังกล่าวไม่มีการสงวนลิขสิทธิ์ ทุกชาติ ทุกศาสนา ทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพก็นำไปใช้ได้หมด

3. มีความเพียรที่จะมีสติ (ตั้งใจ) ในการรู้เห็นความคิดและการกระทำต่างๆ ทันทีที่รู้เห็นความคิดหรือการกระทำต่างๆ ไม่เป็นตามหลักธรรม (ในข้อ 2) ก็ให้หยุความคิดและการกระทำนั้นๆ ทันที เมื่อฝึกทำเช่นนี้เป็นประจำ อีกไม่นานนัก สมองก็จะทำหน้าที่ได้เองคล้ายอัตโนมัติหลักการตามข้อที่ 1 คือการสร้างศรัทธาและเจตนาที่ถูกต้อง หลักการตามข้อที่ 2 คือจดจำข้อมูลหลักธรรม หลักการตามข้อที่ 3 คือ มีสติและมีความเพียรในการดำเนินชีวิตตามหลักธรรม

วิธีการในการพัฒนาจิตนั้นง่ายนิดเดียว

การพัฒนาจิตอย่างถูกวิธีเป็นเรื่องง่ายนิดเดียว ไม่ต้องมีพิธีการ ไม่ต้องมีขั้นตอน เพราะเป็นเรื่องตรงไปตรงมา ขอแต่เพียงให้นิสิตเห็นคุณค่า(มีศรัทธา)อย่างจริงใจ แล้วมีความเจตนา ความตั้งใจ และมีความเพียรอย่างจริงจังที่จะทำให้เกิดผลตามที่ได้ตั้งเจตนาเอาไว้ ในทันที่ที่ลงมือปฏิบัติ

วิธีฝึกพัฒนาจิตในด้านการศึกษาทำได้โดยง่าย กล่าวคือ ในขณะฟังคำบรรยายหรือฝึกปฏิบัติงานอยู่นั้น ให้นิสิตฝึกตั้งเจตนาและทบทวนเจตนาว่า จะฝึกมีความตั้งใจ และฝึกมีความเพียรที่จะมีสติอย่างต่อเนื่องในการรู้เห็นและควบคุมความคิด ให้มีการคิดและพิจารณาเนื้อหาของบทเรียนด้วยความตั้งใจ ไม่เผลอสติ ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่คิดและทำเรื่องอื่นใด ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เมื่อฝึกไปนานเข้า นิสิตก็จะมีความชำนาญมากขึ้น จนสมองสามารถทำได้เองคล้ายอัตโนมัติ

วิธีฝึกพัฒนาจิตในด้านการดำเนินชีวิต คือ ในขณะดำเนินชีวิตประจำวัน ให้ฝึกตั้งเจตนาว่า จะมีความตั้งใจ และมีความเพียรที่จะมีสติอย่างต่อเนื่องในการควบคุมความคิดและการกระทำต่าง ๆ ให้เป็นไปตามหลักธรรมง่าย ๆ ที่ได้กล่าวถึงแล้ว. ในทันทีที่นิสิตรู้เห็นว่า ความคิดหรือการกระทำต่าง ๆ ที่ไม่ตรงตามหลักธรรม ก็ให้หยุดความคิดและการกระทำนั้น ๆ ทันที ขณะเดียวกัน อย่างปล่อยให้มีความคิดฟุ้งซ่านเกิดขึ้นบ่อยหรือนาน เพราะอาจเกิดความคิดฟุ้งซ่านที่เป็นอกุศลและทำอกุศลได้โดยไม่รู้ตัว เพราะขณะเผลอสติไปคิดอยู่นั้น มักจะไม่สามารถควบคุมความคิดให้เป็นไปตามเจตนาที่ตั้งไว้ได้

ควรแสวงหาความรู้ในการพัฒนาจิตตลอดไป

เมื่อยังไม่ตาย ทุกคนควรศึกษาหาความรู้ไปทั้งทางโลกและทางธรรมควบคู่กันไป เพื่อการศึกษา ปฏิบัติงาน และดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพสำหรับการศึกษาหาความรู้ทางธรรม ควรศึกษาเรื่องอริยสัจ 4 ซึ่งเป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา และฝึกปฏิบัติธรรมตามมรรคมีองค์ 8 อย่างจริงจังต่อไปเรื่อย จนกว่าจะจบชีวิตอริยสัจ 4 มีเนื้อหาน้อย พระพุทธเจ้าเปรียบเทียบกับใบไม้เพียงกำมือเดียวเท่านั้นเอง แต่เมื่อนำไปปฏิบัติจะทำให้เกิดการพัฒนาจิตใจเพื่อการศึกษาและดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพพฤติกรรมเป็นการแสดงออกของบุคคล ทั้งส่วนที่เป็นพฤติกรรมภายใน และพฤติกรรมภายนอก มนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้งหลายจึงมีการแสดงพฤติกรรมได้อย่างหลากหลาย ขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้งภายในคือจิตใจ และปัจจัยภายนอกคือสภาพแวดล้อมหรือสถานการณ์ต่าง ๆที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรม

5.ความหมายของพฤติกรรม

คำว่า”พฤติกรรม”หมายถึง [4]พฤติกรรมของมนุษย์ไม่ได้เกิดขึ้นจากสัญชาติญาณเพียงอย่างเดียว หรือไม่ได้เกิดขึ้นเพียงถูกแรงกระตุ้นไม่ว่าจากภายนอกหรือภายในเท่านั้น มนุษย์มีความตระหนัก มีความตั้งใจ และสามารถเลือกพฤติกรรมได้ ฉะนั้นความรู้สึกนึกคิดที่อยู่ภายในจึงมีบทบาทสำคัญเกี่ยวข้องกับพฤติกรรม มนุษย์มีจิตสำนึกชั่วดีเพราะเขาตระหนักไนตัวเองว่าพฤติกรรมของเขาไม่ใช่มีไว้เพียงเพื่อความอยู่รอดขณะนี้ แต่เขาต้องรับผิดชอบต่อพฤติกรรม มโนธรรมภายในจะแยกแยะและบอกอะไรดี อะไรไม่ดี เวลาที่คิดไม่ดี พูดไม่ดี รู้สึกไม่ดี ทำไม่ดีจิตสำนึกจะฟ้องผิด ถึงแม้ว่าแต่ละศาสนาจะสอนเรื่องอะไรถูกอะไรผิดไม่เหมือนกัน แต่สิ่งที่เหมือนกันคือถ้าใครฝ่าฝืนมีพฤติกรรมล่วงละเมิดหรือละเว้นพฤติกรรมที่ควรจะกระทำ เขาจะรู้สึกผิด เกิดทุกข์ภายใน เพราะฉะนั้นมนุษย์ทั่วโลกจึงมีศาสนา มีลัทธิ มีปรัชญาต่างๆ เพื่อกำหนดพฤติกรรมพร้อมทั้งชี้ทางออกให้กับผู้ละเมิดและให้รางวัลแก่ผู้ทำดีทุกศาสนาสอนให้มนุษย์ต้องทำดี นั่นคือเขาต้องมีพฤติกรรมที่ดีไม่ว่าจะเป็นด้วยทางกาย ทางวาจา และทางความคิด นั่นหมายความว่าการกระทำที่เป็นส่วนรับผิดชอบของกายที่เราเรียกว่าอวัยวะจะต้องไม่ถูกนำไปใช้ในสิ่งที่ผิดกฎหมาย ผิดศีลธรรม นำความเสื่อมเสียและความเดือดร้อนมาสู่ผู้อื่นและตนเอง เช่นเดียวกับวาจาจะต้องไม่พูดตลบตะแลง มุสา หยาบโลน ใส่ร้ายป้ายสี แช่งด่า หลอกลวง หรือความคิดไม่คิดทำลายทำร้ายและใช้จินตนาการในเรื่องไม่ดีไม่งาม กาย วาจา ความคิดจะถูกนำมาใช้สิ่งที่ดีงาม เสริมสร้างสิ่งที่เป็นคุณธรรมและการพัฒนา
พฤติกรรมที่นำความสุขสวัสดีแก่มนุษย์ต้องประสานสอดคล้องกันระหว่างพฤติกรรมภายนอกกับคุณธรรมภายใน พฤติกรรมที่เห็นภายนอกไม่อาจบอกคุณธรรมภายในเสมอไป ไม่ใช่ทุกคนทำดีจากเจตนาที่ดี ในขณะเดียวกันไม่ใช่ทุกคนที่เจตนาดีจะทำในสิ่งที่ดีและถูกต้องเสมอไปมีคนมากมายทำดีเพื่อหวังผลประโยชน์บางอย่างที่เราเรียกกันว่า ทำดีเอาหน้า แต่มีหลายคนทำในสิ่งที่ผิดเพราะรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทำไปเพราะความเขลาหรือถูกชักนำไปในทางที่ผิด ไม่ว่าเราจะทำผิดด้วยเจตนาดีหรือทำดีด้วยเจตนาผิด ทั้งสองนำความทุกข์ใจทั้งสิ้น ใครเล่าจะช่วยให้เราพ้นทุกข์นี้ไปได้ ความทุกข์เช่นนี้ไม่ใช่เราเท่านั้นที่เผชิญกับมัน แม้แต่อัครทูตเปาโลบุคคลสำคัญผู้เผยแพร่ธรรมผู้ยิ่งใหญ่เมื่อกว่า 2000 ปีมาแล้วก็รู้สึกเช่นกัน ท่านระบายความรู้สึกคำพูดเป็นตัวอักษรว่า
“ข้าพเจ้าไม่ได้ทำดีที่ข้าพเจ้าต้องทำ แต่สิ่งชั่วซึ่งข้าพเจ้าไม่ต้องการทำ ข้าพเจ้ากลับทำเรื่อข้าพเจ้าเป็นคนน่างสังเวชอะไรเช่นนี้ ใครจะช่วยข้าพเจ้าให้พ้นจากกายแห่งความตายนี้ได้” โรม 7:19,24แต่ท่านอาจารย์เปาโลได้พบทางออกที่ขจัดความรู้สึกสังเวชในตัวเองนี้โดยกล่าวว่า “ขอบพระคุณพระเจ้า ข้าพเจ้าพ้นได้โดยทางพระเยซูคริสต์องค์พระผู้เป็นเจ้าของเรา”โรม 7:25พระเยซูช่วยเราโดยทางพระวิญญาณ ด้วยการพัฒนาคุณลักษณะภายใน และเสริมพลังให้มีพฤติกรรมภายนอกให้สอดคล้องคุณธรรมภายใน ในระหว่างความไม่สมบูรณ์ การอภัยจากพระเจ้าช่วยชูกำลังใให้แก่เรา จงยอมให้พระวิญญาณสร้างภายใน จงตั้งใจที่จะทำภายนอกให้ถูกต้อง พระเจ้าจะอยู่ด้วยคอยช่วยชูกำลัง

ถ้าหากว่าสังคมนี้มีแต่คนดีจะเป็นอย่างไร สังคมไทยเรามีค่านิยมที่แปลก คือ[5] คนไทยให้เกียรติคนเก่งมากกว่าให้เกียรติคนดี การให้เกียรติกับคนเก่งไม่ใช่สิ่งที่ผิด แต่คนไทยให้เกียรติคนเก่งมากเสียจนลืมคำนึงถึงพฤติกรรม ลืมคำนึงถึงการกระทำของคนเก่งว่าดีหรือไม่ดี ถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง เป็นไปตามแบบแผนความประพฤติปฏิบัติอันดีงามหรือไม่ กลายเป็นว่าคนในสังคมต้องการเป็นคนเก่งมากขึ้น เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของสังคม เพื่อสนองความต้องการของตนเอง โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่รุนแรงตามมา คือ สังคมมีคนเก่งมากกว่ามีคนดี ทุกท่านครับการมีคนเก่งมากย่อมเกิดประโยชน์ต่อการก้าวไปข้างหน้าของประเทศ แต่กลับเป็นที่น่าเสียดาย ที่ภาพความเจริญก้าวหน้าของประเทศกลับต้องหยุดชะงักลงด้วยคนเก่งบางกลุ่ม คนเก่งเหล่านั้นกลับนำความเก่งที่คนในสังคมยกย่องมาข่มใส่กันเอง เอาความเก่งมาแสวงหาซึ่งประโยชน์ใส่ตนและพวกพ้องมากกว่าการแบ่งปันแก่ส่วนรวม สังคมนี้จึงเริ่มเสื่อมลงและล่าถอยลงหุบเหวของการโกงกิน การเอื้อประโยชน์อย่างมิชอบ ความเท่าเทียม ความยุติธรรมเริ่มมลายลง ความเก่งที่ระคนไปด้วยความเห็นแก่ได้ เห็นแก่มี ได้บิดเบือนการมองเห็นของคนในสังคมให้ผิดเพี้ยนไป คนในสังคมกลับมองว่าคนดีนั้นเป็นพวกอ่อนแอ คนดีโดนสายตาของสังคมหยามเหยียดศักดิ์ศรีอย่างไม่เหลือดี คนดีกลายเป็นคนที่ไร้ที่ยืนบนสังคม
สังคมในปัจจุบันจึงวุ่นวาย มีการแก่งแย่ง แข่งขันกันไม่สิ้นสุด เกิดความสับสนนานัปการขึ้นในสังคม เพราะมีแต่คนเก่งที่ไร้ซึ่งความเป็นคนดี ทุกท่านครับความเหิมเกริมของคนเก่งที่ขาดความดีประดับตัว ได้สร้างความเสื่อมแก่สังคมอย่างต่อเนื่อง จากจุดเล็กๆก็กลายเป็นช่องว่างที่กว้างใหญ่และเริ่มแผ่รัศมีไปอย่างไม่สิ้นสุด ทุกท่านครับการจะหยุดความเสื่อมถอยของสังคมได้นั้น เราต้องอาศัยคนดี คนดีที่มีความเก่งในตัว คนดีและมีความสามารถที่จะมารั้งสังคมที่เสื่อมขึ้นมาจากหุบเหวแห่งการโกงกิน การเอื้อประโยชน์อย่างมิชอบ เพื่อปรับให้กลายเป็นสังคมที่ดี มีความยุติธรรม มีความเสมอภาคแก่ทุกฝ่ายอย่างแท้จริง การเป็นคนเก่งแล้ว เราควรต้องเป็นคนดีด้วย สังคมจึงจะสงบสุข ดังคำกล่าวที่ว่า “คนดีคนเดียวย่อมทำให้โลกร่มเย็นได้” ฉะนั้นคนในสังคมจะต้องเริ่มปรับมุมมองใหม่ เราให้เกียรติคนดี เราส่งเสริมคนดีให้มีมากขึ้น สร้างที่ยืนให้คนดี มุ่งให้คนในสังคมหันมาทำความดีมากขึ้น ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตอนหนึ่งว่า “คนเรานั้นต้องหมั่นทำความดีบ่อยๆ เพื่อให้จิตคุ้นชินกับความดี เพราะถ้าไม่ทำดี ก็จะเป็นการเปิดโอกาสให้ความชั่วเข้ามาแทรกแซงได้ง่าย” เมื่อเป็นคนดีแล้วก็มาพัฒนาความเก่ง พัฒนาความสามารถโดยอยู่บนพื้นฐานของจริยธรรม ศีลธรรมอันเป็นเครื่องหมายของคนดี การจะเป็นคนดีของสังคมเราต้องรู้จักคุณสมบัติของคนดีในสังคมเสียก่อน ซึ่งเส้นทางสู่การเป็นคนดีสามารถกระทำได้ดังนี้ คือ คนดีต้องมีคุณสมบัติการกระทำ 3 ประการ ประการที่ 1 การกระทำด้วยกาย เรียกว่า กายกรรม กล่าวคือ การกระทำในสิ่งที่ดี ไม่เบียดเบียนผู้อื่นให้เกิดความเดือดเนื้อร้อนใจ ประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในกรอบของศีลธรรมและ จริยธรรมอันดีงาม กระทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่สังคมประการที่ 2 การกระทำด้วยวาจา เรียกว่า วจีกรรม กล่าวคือ การพูดจาดี มีความอ่อนหวาน ซื่อตรง พูดในสิ่งที่สร้างสรรค์ ไม่พูดปดหรือพูดหลอกลวงผู้อื่นให้หลงเชื่อเพื่อให้ได้มาซึ่ง ผลประโยชน์แก่ตนประการที่ 3 การกระทำด้วยใจ เรียกว่า มโนกรรม กล่าวคือ การเป็นผู้มีความคิดด้วยจิตอันบริสุทธิ์ คิดในสิ่งที่ดีมีประโยชน์ คิดในทางที่สร้างสรรค์ ไม่คิดร้ายแก่ผู้อื่นเพียงเพราะผลประโยชน์
เมื่อคนในสังคมปฏิบัติตามคุณสมบัติการกระทำทั้ง 3 อย่างครบถ้วนแล้ว ก็เกิดเป็นคุณค่าของคนดี เมื่อคนในสังคมมองเห็นคุณค่าของคนดี สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วย ผู้คนที่มีจิตใจโอบอ้อมอารี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว มีความสามัคคีกลมเกลียวกัน ประกอบอาชีพที่สุจริต มีความขยันขันแข็งและยึดมั่นในศีลธรรม ส่งผลให้สังคมนั้นมีแต่ความผาสุก มีความเจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว ทุกท่านครับ เมื่อมีคนดี สังคมย่อมดีตาม สังคมดีในอุดมคติจะเกิดขึ้นได้เมื่อทุกคนเข้าใจและเห็นพ้องกันว่า “เป็นคนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง”

ความหมายของประชาธิปไตย
คำว่า”ประชาธิปไตย[6] คือเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมืองผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยโดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน

ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรงซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนโดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภาจากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาลอย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติการริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง

แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตามแต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลหลักการดังกล่าวสะท้อนออกมาผ่านความเสมอภาคทางกฎหมายของพลเมืองทุกคน และสิทธิเข้าถึงกระบวนการทางกฎหมายโดยเท่าเทียม ตัวอย่างเช่น ในประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ทุกเสียงมีน้ำหนักเท่ากันทั้งสิ้น และไม่มีการจำกัดอย่างไร้เหตุผลใช้บังคับกับทุกคนที่ปรารถนาเป็นผู้แทน ส่วนอิสรภาพได้มาจากสิทธิและเสรีภาพตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งโดยทั่วไปได้รับการคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ

ประชาธิปไตยถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในกรีซโบราณแต่วิธีปฏิบัติแบบประชาธิปไตยปรากฏในสังคมอยู่ก่อนแล้ว รวมทั้งเมโสโปเตเมียฟินีเซียและอินเดียวัฒนธรรมอื่นหลังกรีซได้มีส่วนสำคัญต่อวิวัฒนาการของประชาธิปไตย เช่น โรมันโบราณ[6]ยุโรป[6]และอเมริกาเหนือและใต้มโนทัศน์ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนเกิดขึ้นส่วนใหญ่จากแนวคิดและสถาบันซึ่งได้ถูกพัฒนาระหว่างยุคกลางของยุโรปและยุคภูมิธรรมในการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติฝรั่งเศส

ประชาธิปไตยถูกเรียกว่า "ระบอบการปกครองสุดท้าย" และแพร่หลายอย่างมากไปทั่วโลกสิทธิในการออกเสียงลงมติในหลายประเทศได้ขยายวงกว้างขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปจากกลุ่มค่อนข้างแคบ (เช่น ชายมั่งมีในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง ๆ) โดยนิวซีแลนด์เป็นชาติแรกที่ให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปแก่พลเมืองทุกคนใน ค.ศ. 1893 ประชาธิปไตยมักถูกเข้าใจสับสนกับระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐในบางนิยาม "สาธารณรัฐ" เป็นประชาธิปไตยรูปแบบหนึ่ง แต่นิยามอื่นทำให้ "สาธารณรัฐ" เป็นคำที่มีความหมายต่างหาก ไม่เกี่ยวข้องกันอย่างไรก็ดี แม้การดำเนินการปกครอง

ตามระบอบประชาธิปไตยแม้จะได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน แต่ต้องเผชิญกับปัญหาหลายประการที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน อย่างเช่น ข้อพิพาทเกี่ยวกับดินแดนการอพยพเข้าเมืองและการกีดกันกลุ่มประชากรบางชาติพันธุ์เป็นต้น

ประชาธิปไตยในยุคโบราณ

คำว่าประชาธิปไตยปรากฏขึ้นครั้งแรกในแนวคิดทางการเมืองและทางปรัชญาในกรีซโบราณปราชญ์เพลโตเปรียบเทียบประชาธิปไตยซึ่งเขาเรียกว่าเป็น "การปกครองโดยผู้ถูกปกครอง" ว่าเป็นรูปแบบทางเลือกสำหรับระบอบราชาธิปไตยคณาธิปไตยและเศรษฐยาธิปไตยแม้ถือว่าประชาธิปไตยแบบเอเธนส์เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง แต่เดิมประชาธิปไตยแบบเอเธนส์มีลักษณะเด่นอยู่สองประการ คือ มีการคัดเลือกพลเมืองธรรมดาจำนวนมากเข้าสู่ระบบราชการและศาลและมีการชุมนุมของพลเมืองทุกชนชั้น[19]

พลเมืองทุกคนมีสิทธิอภิปรายและลงมติในสภาซึ่งเป็นที่ออกกฎหมายของนครรัฐ ทว่า ความเป็นพลเมืองเอเธนส์นั้นรวมเฉพาะชายทุกคนซึ่งเกิดจากบิดาที่เป็นพลเมือง และผู้ที่กำลัง "รับราชการทหาร" ระหว่างอายุ 18-20 ปีเท่านั้น ซึ่งไม่รวมผู้หญิงทาสคนต่างชาติ (กรีก:μετοίκος,metoikos) และชายอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ จากจำนวนผู้อยู่อาศัยกว่า 250,000 คน มีผู้ได้รับสถานะพลเมืองเพียง 30,000 คน และมีเพียง 5,000 คนเท่านั้นที่มักปรากฏตัวในสมัชชาประชาชน เจ้าพนักงานและผู้พิพากษาของรัฐบาลจำนวนมากเป็นการกำหนดเลือก มีเพียงเหล่าแม่ทัพและเจ้าพนักงานเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่มาจากการเลือกตั้ง

อ้างว่าเกาะอาร์วัด (ปัจจุบันคือประเทศซีเรีย) ซึ่งชาวฟินิเซียก่อตั้งขึ้นเมื่อสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เป็นตัวอย่างหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยที่พบในโลกซึ่งที่นั่น ประชาชนถืออำนาจอธิปไตยของตน และอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าเป็นไปได้ คือ ประชาธิปไตยยุคเริ่มแรกอาจมาจากนครรัฐสุเมเรียนฝ่ายเวสาลีซึ่งปัจจุบันคือรัฐพิหารประเทศอินเดียเป็นรัฐบาลแรก ๆ ของโลกที่มีองค์ประกอบอันพิจารณาได้ว่ามีการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นแห่งแรกของโลก (แต่มีบางคนโต้แย้งว่าการปกครองของเวสาลีนั้นไม่เป็นราชาธิปไตยก็จริง แต่น่าจะมีลักษณะเป็นคณาธิปไตยมากกว่าประชาธิปไตย) และยังปรากฏว่ามีการปกครองที่คล้ายคลึงกับประชาธิปไตยหรือคณาธิปไตยเกิดขึ้นชั่วคราวโดยชาวเมเดสช่วงศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล แต่ถึงคราวสิ้นสุดเมื่อถึงรัชกาลพระเจ้าดาไรอัสมหาราชแห่งราชวงศ์อาร์เคเมนิดผู้ทรงประกาศว่า ระบอบราชาธิปไตยที่ดีนั้นย่อมเหนือกว่าระบอบคณาธิปไตยและระบอบประชาธิปไตยทุกรูปแบบ[22]

นอกจากนั้น ยังมีการอ้างถึงสถาบันทางประชาธิปไตยในยุคเริ่มแรก โดยถือว่าเป็น "สาธารณรัฐ" อิสระในประเทศอินเดียอย่างเช่นพระสงฆ์ซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 แต่หลักฐานที่พบนั้นเลื่อนลอยและไม่สามารถหาแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้แน่ชัด นอกจากนั้น ไดโอโดรุส ปราชญ์ชาวกรีกในรัชกาลพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชกล่าวถึงรัฐอิสระซึ่งปกครองระบอบประชาธิปไตยในอินเดียแต่ไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม นักวิชาการสมัยใหม่กล่าวว่า คำว่าประชาธิปไตยในสมัยศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลถูกลดความน่าเชื่อถือ และอาจหมายถึงรัฐอิสระซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการปกครองของประชาชนเลยแม้แต่น้อยแม้ในยุคสาธารณรัฐโรมันจะมีการสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย เช่น การออกกฎหมาย ทว่าก็มิได้เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ชาวโรมันเลือกผู้แทนตนเข้าสู่สภาก็จริง แต่ไม่รวมถึงสตรี ทาสและคนต่างด้าวจำนวนมหาศาล และยังมอบน้ำหนักให้กับเหล่าเศรษฐีและเจ้าหน้าที่ระดับสูง ซึ่งการเป็นสมาชิกวุฒิสภามักมาจากครอบครัวที่มีชื่อเสียงและร่ำรวยจำนวนน้อยเท่านั้น

ประชาธิปไตยในยุคกลาง

ในยุคกลางมีหลายรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งหรือสมัชชา แม้ว่าบ่อยครั้งจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเพียงส่วนน้อย อย่างเช่นเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียในนครรัฐเวนิซช่วงอิตาลียุคกลาง รัฐในไทรอลเยอรมันและสวิตเซอร์แลนด์รวมไปถึงนครพ่อค้าอิสระซะไกในญี่ปุ่นสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 เนื่องจากการปกครองรูปแบบต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้นประชาชนมีส่วนร่วมเพียงส่วนน้อย จึงมักถูกจัดเป็นคณาธิปไตยมากกว่า และดินแดนทวีปยุโรปสมัยนั้นยังปกครองภายใต้นักบวชและขุนนางในยุคเจ้าขุนมูลนายเป็นส่วนมากรูปแบบการปกครองซึ่งใกล้เคียงกับลักษณะประชาธิปไตยสมัยใหม่ยิ่งขึ้นไปอีก คือ ระบบของกลุ่มสาธารณรัฐคอสแซ็คในยูเครนระหว่างคริสต์ศัตวรรษที่ 16-17: คอสแซ็คเฮ็ตมันนาเตและซาโปริเซียน ซิค โดยเปิดโอกาสให้ผู้แทนจากตำบลต่าง ๆ ของเคานตีเลือกตำแหน่งสูงสุด ซึ่งเรียกว่า "เฮ็ตมัน" (Hetman) แต่ด้วยความที่กลุ่มสาธารณรัฐคอสแซ็คเป็นรัฐทหารเต็มตัว สิทธิของผู้ร่วมในการเลือก "เฮ็ตมัน" จึงมักจำกัดอยู่แต่ผู้รับราชการในกองทหารคอสแซ็คเท่านั้น และต่อมายิ่งจำกัดเป็นเฉพาะนายทหารระดับสูง

ฝ่ายรัฐสภาอังกฤษมีรากฐานการจำกัดพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์มาจากมหากฎบัตรรัฐสภาซึ่งสมาชิกมาจากการเลือกตั้งครั้งแรก คือ รัฐสภาของเดอมงฟอร์ต ใน ค.ศ. 1265 แต่อันที่จริง มีเพียงประชาชนกลุ่มน้อยเท่านั้นที่แสดงความคิดเห็น โดยรัฐสภาได้รับการคัดเลือกจากประชาชนคิดเป็นน้อยกว่า 3% ใน ค.ศ. 1780และยังเกิดปัญหากับรูปแบบการปกครองดังกล่าว ที่เรียกว่า "เขตเลือกตั้งเน่า" (rotten boroughs) โดยอำนาจการจัดตั้งรัฐสภานั้นขึ้นอยู่กับความพึงพอพระทัยของพระมหากษัตริย์ หลังการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ใน ค.ศ. 1688 และการบังคับใช้พระราชบัญญัติสิทธิใน ค.ศ. 1689 ซึ่งประมวลหลักสิทธิและเพิ่มพูนอิทธิพลของรัฐสภาแล้วสิทธิการเลือกสมาชิกรัฐสภาก็เพิ่มขึ้นทีละน้อย จนพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเพียงประมุขแต่ในนาม

รูปแบบประชาธิปไตยยังปรากฏในระบบชนเผ่าเช่น สหพันธ์ไอระควอย (Iroquois Confederacy) อย่างไรก็ตาม เฉพาะสมาชิกเพศชายของชนเผ่าที่ขึ้นเป็นผู้นำได้ และบ้างยังถูกยกเว้นอีก มีเพียงสตรีที่อาวุโสที่สุดในชนเผ่าเดียวกันเท่านั้นที่สามารถเลือกและถอดถอนหัวหน้าชนเผ่าได้ซึ่งเป็นการกีดกันประชากรจำนวนมาก รายละเอียดที่น่าสนใจกล่าวว่าการตัดสินใจแต่ละครั้งใช้ความคิดเห็นเอกฉันท์ของเหล่าผู้นำ มิใช่การสนับสนุนของเสียงส่วนใหญ่จากการลงคะแนนเสียงของสมาชิกชนเผ่า

ในสังคมระดับกลุ่ม อย่างเช่นบุชแมนซึ่งแต่ละกลุ่มมักประกอบด้วย 20-50 คน ไม่ค่อยมีหัวหน้าเท่าใดนักและการตัดสินใจต่าง ๆ อาศัยความเห็นชอบจากคนส่วนใหญ่มากกว่า ในเมลานีเซียเดิมชุมชนหมู่บ้านกสิกรรมมีความเท่าเทียมกัน และมีการปกครองแบบเอกาธิปไตยที่แข็งแรงจำนวนน้อย แม้อาจมีคนใดคนหนึ่งมีอิทธิพลเหนือกว่าผู้อื่นซึ่งอิทธิพลดังกล่าวมีผลต่อการแสดงทักษะความเป็นผู้นำอย่างต่อเนื่อง และความประสงค์ของชุมชน ทุกคนถูกคาดหวังให้แบ่งปันหน้าที่ในชุมชน และให้สิทธิร่วมการตัดสินใจของชุมชน อย่างไรก็ตาม แรงกดดันอย่างหนักของสังคมกระตุ้นให้เกิดความลงรอยกันและลดการตัดสินใจเพียงลำพัง

ประชาธิปไตยในยุคปัจจุบันรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสามารถแบ่งออกเป็นหลายรูปแบบ เช่น

1. ประชาธิปไตยทางตรง เป็นรูปแบบการปกครองโดยที่พลเมืองสามารถมีส่วนร่วมกับการตัดสินใจใด ๆ ได้โดยตรง โดยไม่ต้องอาศัยคนกลางหรือผู้ทำหน้าที่แทนตน ผู้สนับสนุนประชาธิปไตยทางตรงได้โต้แย้งว่าประชาธิปไตยในปัจจุบันนั้น ควรจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากกว่าระเบียบการพื้นฐานอย่างการเลือกตั้งเท่านั้น ประชาธิปไตยทางตรงนับจนถึงปัจจุบันนี้เป็นเพียงรูปแบบที่ไม่ค่อยแพร่หลายนัก เนื่องจากรูปแบบการปกครองดังกล่าวสามารถใช้ได้กับชุมชนที่มีกลุ่มคนขนาดเล็กเท่านั้น ซึ่งโดยปกติแล้วจะเป็นนครรัฐอย่างไรก็ตาม ประชาธิปไตยทางตรงสามารถพบเห็นได้ในสวิตเซอร์แลนด์ซึ่งผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนกว่าห้าล้านคนสามารถลงประชามติประมาณสองถึงสี่ครั้งต่อปี การปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรงยังสามารถใช้ได้กับการปกครองที่มีขอบเขตเป็นจังหวัดในระดับประเทศ ส่วนที่เป็นประชาธิปไตยทางตรงมีการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง

2. ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนเกี่ยวข้องกับการเลือกเจ้าหน้าที่รัฐบาลโดยผู้ที่ประชาชนเลือกไปทำหน้าที่แทนตน หากประมุขแห่งรัฐถูกเลือกตั้งตามครรลองประชาธิปไตยเช่นกัน ประเทศนั้นจะเรียกว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยกลไกลที่พบมากที่สุดเกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งผู้ลงสมัครด้วยเสียงข้างมากหรือคะแนนเสียงเหนือกว่าผู้แทนอาจได้รับเลือกตั้งหรือเป็นผู้แทนทางทูตโดยเขตหรือเขตเลือกตั้งเฉพาะ หรือเป็นผู้แทนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดโดยสัดส่วนในระบบสัดส่วน หรืออาจใช้สองรูปแบบผสมกัน คุณลักษณะของประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน คือ ขณะที่ประชาชนเลือกผู้แทนไปทำหน้าที่เพื่อประโยชน์ของประชาชน แต่ผู้แทนเหล่านี้ก็มีเสรีภาพในการตัดสินใจขอด้วยตนเอง และเลือกวิธีการดำเนินการต่าง ๆ ได้เอง

3. ประชาธิปไตยระบบรัฐสภาเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ซึ่งรัฐบาลได้รับแต่งตั้งจากผู้แทน ขัดกับ "การปกครองแบบประธานาธิบดี" อันมีประธานาธิบดีที่ประชาชนเลือกตั้งเข้ามา เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและประมุขรัฐบาล ภายใต้ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา รัฐบาลบริหารประเทศโดยมอบหน้าที่ให้คณะรัฐมนตรีทำหน้าที่บริหาร ตลอดจนถูกวิจารณ์ ตรวจสอบและถ่วงดุลอย่างต่อเนื่องโดยสภานิติบัญญัติซึ่งได้รับเลือกจากประชาชน ระบบรัฐสภามีสิทธิถอดถอนนายรัฐมนตรีได้เมื่อถึงเวลาที่สภาเห็นว่าผู้นั้นทำหน้าที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวังของฝ่ายนิติบัญญัติ การถอดถอนนี้เรียกว่าการอภิปรายไม่ไว้วางใจโดยที่ฝ่ายนิติบัญญัติตัดสินใจว่าจะถอดนายกรัฐมนตรีออกจากตำแหน่งหรือไม่โดยการสนับสนุนเสียงข้างมากต่อการถอดถอนผู้นั้นในบางประเทศ นายกรัฐมนตรียังสามารถยุบสภาและเรียกการเลือกตั้งใหม่ได้เมื่อใดก็ตามที่ผู้นั้นเลือก และตามแบบนายกรัฐมนตรีจะจัดการเลือกตั้งเมื่อผู้นั้นทราบดีว่าตนได้รับการสนับสนุนดีจากสาธารณะที่จะได้รับการเลือกตั้งกลับเข้ามา ในประชาธิปไตยระบบรัฐสภาอื่น แทบไม่เคยจัดการเลือกตั้งพิเศษ แต่นิยมรัฐบาลเสียงข้างน้อยกะทั่งการเลือกตั้งปกติครั้งถัดไประบบรัฐสภามีนายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาลและประมุขฝ่ายบริหาร จะมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขก็ได้ แต่ไม่มีอำนาจบริหาร

4. ระบบประธานาธิบดีเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนระบบหนึ่งซึ่งสาธารณะเลือกตั้งประธานาธิบดีผ่านการเลือกตั้งเสรีและยุติธรรม ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและประมุขรัฐบาล โดยควบคุมอำนาจบริหารส่วนใหญ่ ประธานาธิบดีมีวาระการดำรงตำแหน่งแน่นอนและไม่อาจดำรงตำแหน่งเกินกำหนดเวลาได้ เพราะได้รับเลือกตั้งจากประชาชน ประธานาธิบดีจึงสามารถกล่าวได้ว่า เขาเป็นทางเลือกของประชาชนและเพื่อประชาชนการเลือกตั้งตามแบบมีกำหนดวันที่ชัดเจนและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย การเป็นประมุขแห่งรัฐและประมุขรัฐบาลร่วมกันทำให้ประธานาธิบดีไม่เพียงแต่เป็นหน้าเป็นตาของประชาชน แต่ยังเป็นหัวหน้านโยบายด้วยประธานาธิบดีควบคุมคณะรัฐมนตรีโดยตรง สมาชิกคณะรัฐมนตรีนั้นได้รับการแต่งตั้งอย่างเจาะจงจากประธานาธิบดีด้วยตนเอง ประธานาธิบดีไม่อาจถูกถอดออกจากตำแหน่งได้โดยง่ายจากฝ่ายนิติบัญญัติ แม้ประธานาธิบดีจะถืออำนาจบริหารส่วนมากไว้ แต่เขาก็ไม่สามารถถอดสมาชิกฝ่ายนิติบัญญัติได้โดยง่ายเช่นกัน ระบบนี้จึงเพิ่มการแบ่งแยกอำนาจ ทั้งยังอาจก่อให้เกิดความแตกแยกระหว่างประธานาธิบดีและฝ่ายนิติบัญญัติที่มาจากต่างพรรคการเมืองซึ่งเปิดให้ฝ่ายหนึ่งขัดขวางอีกฝ่ายได้ ด้วยเหตุนี้ ประชาธิปไตยประเภทจึงนี้ไม่พบแพร่หลายทั่วโลกในปัจจุบัน แต่ประเทศส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาตั้งแต่สหรัฐอเมริกาถึงทวีปอเมริกาใต้ใช้ระบบนี้ระบบนี้ไม่มีนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริหารไม่สามารถยุบสภา ฝ่ายนิติบัญญัติไม่สามารถอภิปรายไม่ไว้วางใจ

5. ระบบกึ่งประธานาธิบดีเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนซึ่งรัฐบาลมีทั้งนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดี ประชาธิปไตยแบบนี้ยิ่งพบน้อยกว่าระบบประธานาธิบดีเสียอีก ระบบนี้มีทั้งนายกรัฐมนตรีซึ่งไม่มีกำหนดวาระ และประธานาธิบดีซึ่งมีกำหนดวาระ ขึ้นอยู่กับประเทศ การแบ่งแยกอำนาจระหว่างนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดีนั้นแตกต่างกันไป ในกรณีหนึ่ง ประธานาธิบดีถืออำนาจมากกวานายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีรับผิดชอบทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและประธานาธิบดีส่วนอีกด้านหนึ่ง นายกรัฐมนตรีสามารถถืออำนาจมากกว่าประธานาธิบดี ประธานาธิบดีกับนายกรัฐมนตรีแบ่งอำนาจกัน ขณะที่ประธานาธิบดีถืออำนาจแยกจากฝ่ายนิติบัญญัติประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดด้วยตนเอง ควบคุมนโยบายการทางประเทศ และเป็นประมุขแห่งรัฐ ("หน้าตาของประชาชน") นายกรัฐมนตรีถูกคาดหวังว่า วางนโยบายของพรรคซึ่งชนะการเลือกตั้งสู่ฝ่ายนิติบัญญัติรัฐบาลประเภทนี้ยังสร้างปัญหาว่าใครถือความรับผิดชอบใด

6. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย

6.1 เพื่อศึกษาจิตพฤติกรรมประชาธิปไตยในแต่ละช่วงชีวิตของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

6.2เพื่อวิเคราะห์จิตพฤติกรรมการเป็นพลที่ดีในสังคมประชาธิปไตยของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

6.3 เพื่อศึกษาจิตพฤติกรรมการนำเอาหลักประชาธิปไตยมาใช้ในชีวิตประจำวันของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

7. ขอบเขตของโครงการวิจัย

คณะผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตในการวิจัย ดังนี้

7.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตด้านเนื้อหา ได้แก่ การศึกษาการพัฒนาจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมประชาธิปไตยของบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์

7.2ขอบเขตผู้ให้ข้อมูล ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตผู้ให้ข้อมูล โดยศึกษาจากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ศึกษาจิตพฤติกรรมของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาเขตพะเยา จำนวน 22 รุ่น โดยกำหนดผู้ให้ข้อมูลสำคัญด้านการสัมภาษณ์เจาะลึก (IndepthIntervi(ตัวแทนของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาของแต่ละรุ่น จำนวนรุ่นละ 3 รูป/คน รวม 66 รูป/คน

7.3ขอบเขตในด้านเวลา1 ปีงบประมาณ

7.4ขอบเขตด้านพื้นที่ บัณฑิตที่อยู่พื้นที่โซนภาคเหนือตอนบน

8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถ้ามี) และกรอบแนวคิดของโครงการวิจัย

จากแนวคิดและกระบวนการของ จิตพฤติกรรมหมายถึง การกระทำ หรือการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึกเพื่อตอบสนองสิ่งเร้า พฤติกรรมจัดเป็นกิจกรรมต่าง ๆ ที่อินทรีย์เป็นผู้กระทำ ทั้งที่แสดงออกมาให้เห็น รวมทั้งที่ซ้อนเร้นไว้ภายใน และพฤติกรรมนั้นบุคคลอื่นสามารถสังเกตเห็นได้ดี เช่น การนอน การเคลื่อนไหว อิริยาบถและกิริยาท่าทางต่าง ๆ จัดเป็นพฤติกรรมภายนอก ส่วนการกระทำภายในบุคคล ซึ่งผู้อื่นไม่สามารถรับรู้ หรือสามารถสังเกตได้โดยตรง แต่ใช้เครื่องมือวัดได้ เช่น เราสามารถวัดความดันเลือด การเปิดของม่านตา คลื่นสมอง แรงต้านทานไฟฟ้าของผิวหนัง เป็นต้น เหล่านี้จัดเป็นพฤติกรรมภายในส่วนทรงพล ภูมิพัฒน์(2541 : 18-19) กล่าวถึงความหมายของพฤติกรรม คือ การแสดงออกซึ่งปฎิกิริยาอาการ หรือ การกระทำของมนุษย์(และสัตว์ด้วย) พฤติกรรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

1. พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) ได้แก่ พฤติกรรมที่ผู้อื่นสามารถสังเกตได้โดยตรงจากประสาททั้ง 5 ( หู ตา จมูก ปาก และผิวหนัง) พฤติกรรมภายนอก แยกได้เป็น

1.1 พฤติกรรมที่สังเกตได้โดยตรงไม่ต้องใช้เครื่องมือช่วย (บางท่านเรียกว่า พฤติกรรมโมล่าร์: Molar behavior) เช่น หัวเราะ ร้องไห้ อ้าปาก กระโดด

1.2 พฤติกรรมที่สังเกตได้โดยตรง โดยใช้เครื่องมือช่วย เรียกพฤติกรรมประเภทนี้ว่า พฤติกรรมโมเลกุล(Molecular behavior) เช่น การเดินของหัวใจ , ความดันของโลหิต , ความต้านทานกระแสไฟฟ้าที่ผิวหนัง

2. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ได้แก่ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในตัวของบุคคล จะโดยรู้สึกตัว หรือไม่รู้สึกตัวก็ตาม ปกติผู้อื่นจะไม่สามารถสังเกตพฤติกรรมประเภทนี้ได้โดยตรง ถ้าไม่บอก ไม่แสดงออกมาให้เป็นที่สังเกต พฤติกรรมภายในจึงเป็นเรื่องของประสบการณ์ส่วนบุคคล(Private Experience) ตนเท่านั้นรู้ ตัวอย่างเช่น ความคิด ความจำ จินตนาการ ความฝัน และพฤติกรรมการรู้สึกต่าง ๆเช่น กลัว เสียใจ หิว เจ็บ เพลีย ฯลฯ

2.1 พฤติกรรมภายในที่เกิดขึ้นโดยรู้สึกตัว เช่น หิว เหนื่อย ตื่นเต้น ชื่นชม พฤติกรรมเหล่านี้ เจ้าของพฤติกรรมรู้สึกตัวว่ามันเกิด แต่เจ้าของพฤติกรรมอาจจะควบคุม หรือเก็บความรู้สึกต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ ไม่แสดงออกซึ่งกิริยาอาการหรือสัญญาณใดๆ

2.2 พฤติกรรมภายในที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวพฤติกรรมบางอย่างเกิดขึ้นภายใน โดยบางครั้งบุคคลไม่รู้สึกตัว แต่มีผลต่อพฤติกรรมภายนอกของบุคคลผู้นั้น เช่น ความขลาด หวาดกลัว ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา ความสุขใจและ ศันสนีย์ ตันติวิท (2543 : 33-34) ได้กล่าวถึงพฤติกรรมที่แตกต่างไปบ้าง แต่โดยความหมายแล้วมีความสอดคล้องกันคือ พฤติกรรมบางอย่างเราสามารถรับรู้ได้ด้วยอวัยวะรับความรู้สึก (Sense organ) เช่นเวลาเรายืน นั่ง พูดคุย ดีใจ เสียใจ หรือโกรธ แต่พฤติกรรมบางอย่างเราสังเกตเห็นไม่ได้ อาจรู้ได้โดยมีเครื่องมือวัดพฤติกรรม เช่น เครื่องมือจับเท็จ เราอาจแบ่งพฤติกรรมเป็น 2 แบบ คือ

แบบที่ 1 Special pattern เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการทำงานของร่างกายหลาย ๆ ส่วนร่วมกัน เช่น การเคลื่อนไหวของนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ เวลาถือของเล็กๆ

แบบที่ 2 Temporal pattern เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการทำงานของร่างกายต่อเนื่องกัน เวลาที่เรายื่นมือไปหยิบวัตถุ เราต้องใช้สายตามองดูวัตถุพร้อมกับยื่นมือไปหยิบวัตถุนั้น

กล่าวโดยสรุปจิตพฤติกรรมเป็นการแสดงออกโดยรวมของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ทั้งเป็นการแสดงออกภายนอก และการแสดงออกภายใน การจะศึกษาพฤติกรรมให้เข้าใจจะต้องทำความเข้าใจเกี่ยวทฤษฎีพฤติกรรมดังนี้

กรอบแนวคิด (Conceptual Framework)

ผู้วิจัยจะศึกษา แนวคิด/ทฤษฎีเกี่ยวกับการ การพัฒนาจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมประชาธิปไตยของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาจิตพฤติกรรมประชาธิปไตยในแต่ละช่วงชีวิต เพื่อวิเคราะห์จิตพฤติกรรมการเป็นพลที่ดีในสังคมประชาธิปไตยและเพื่อศึกษาจิตพฤติกรรมการนำเอาหลักประชาธิปไตยมาใช้ในชีวิตประจำวันและจิตพฤติกรรมประชาธิปไตยในแต่ละสถาบันทางสังคมและการนำไปใช้ โดยอาศัยแนวคิดกรอบประมวลคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณข้าราชการพลเรือนในการสนับสนุน การกระตุ้น และการช่วยเหลือเพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามแนวทางการเป็นพลเมืองที่ดีหรือตามแนวทางวิถีแห่งพุทธธรรม คือ พฤติกรรมทางกาย พฤติกรรมทางวาจา และพฤติกรรมทางใจ ดังแผนภาพต่อไปนี้


9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง

ทฤษฎีจิตพฤติกรรม เป็นการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักจิตวิทยา ที่ได้ศึกษาค้นคว้าพฤติกรรมของมนุษย์ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงทฤษฎีที่สำคัญ 2 ทฤษฎีคือ

1) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis theory) ผู้นำเสนอทฤษฎีนี้คือ ซิกมันด์ฟรอยด์ นักจิตวิทยาชาวออสเตรีย เขากล่าวถึงพฤติกรรมของมนุษย์ไว้ว่า พฤติกรรมเกิดจากพลังของจิต 2 ลักษณะคือ จิตสำนึก (Conscious) และจิตใต้สำนึก (Unconscious) นั่นคือพฤติกรรมที่แสดงออกมาถูกควบคุมโดยจิตสำนึก แต่จิตสำนึกนั้นจะเกิดขึ้นได้ก็ต้องอาศัยแรงกระตุ้นผลักดันจากภายในอันได้แก่ จิตไร้สำนึก ซึ่งเป็นที่รวมของความต้องการ ความปรารถนา และความเก็บกดต่าง ๆ ดังนั้นจิตใต้สำนึกจึงเป็นพลังงานอันก่อให้เกิดการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา

2) ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral theory) กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยมกลุ่มแรกที่ให้คำอธิบายเกี่ยวกับบุคลิกภาพตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม คือ พาฟลอฟ วัตสัน และ สกินเนอร์ ซึ่งได้นำเสนอทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิก และลงมือกระทำ นักคิดในทฤษฎีกลุ่มนี้ไม่ค่อยให้ความเชื่อถือแรงจูงใจภายในตัวบุคคล ว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดลักษณะพฤติกรรมและบุคลิกภาพ แต่ให้ความสนใจกับสิ่งเร้าภายนอก รวมทั้งกระบวนการให้การเสริมแรงมากกว่าโดยให้ความเห็นว่า บุคคลจะมีบุคลิกภาพเช่นไรขึ้นอยู่กับเขาได้รับการเสริมแรงจากบุคคลและกลุ่มสังคมในวัยที่ผ่านมาอย่างไร เช่น คนที่มีนิสัยก้าวร้าว อาจเกิดจากการที่เมื่อเขาก้าวร้าวแล้ว ได้รับการชื่นชม (เสริมแรงบวก) คนขี้อาย อาจได้รับการชมเชยเมื่อแสดงความขี้อาย (เสริมแรงบวก) หรือถูกทำโทษเมื่อแสดงตน(เสริมแรงบวก) นอกจากนั้นแล้ว ทฤษฎียังเชื่อว่า พฤติกรรมหรือบุคลิกภาพของบุคคลเกิดจากการสังเกตตัวแบบ แล้วมีการเลียนแบบเกิดขึ้น อย่างไรก็ดีนักทฤษฎีกลุ่มนี้มักถูกวิพากษ์ว่า อธิบายบุคลิกภาพของบุคคลอย่างผิวเผิน โดยลืมนึกถึงพลังขับด้านชีวภาพและด้านความรู้ความคิดซึ่งเป็นพลังขับที่สำคัญในการกำหนดลักษณะพฤติกรรมและบุคลิกภาพของบุคคลเช่นเดียวกัน

3)พฤติกรรมทางการเมือง พฤติกรรมทางการเมือง เป็นการแสดงออกทางการเมือง ซึ่งจะมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ดังนั้นพฤติกรรมทางการเมืองจึงเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเมือง เช่น การเลือกตั้ง ได้แก่ การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมในการรณรงค์หาเสียง การเข้ารับสมัครรับเลือกตั้ง เป็นต้น การเข้าร่วมประชาพิจารณ์ การเข้าร่วมต่อสู้ทางการเมือง ซึ่งณรงค์ สินสวัสดิ์ (2539 : คำนำ) กล่าวว่า พฤติกรรมทางการเมืองของบุคคล เช่น การเข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมืองในระดับต่าง ๆ การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การช่วยพรรคการเมืองหาเสียง การลงสมัครรับเลือกตั้ง การเดินขบวนหรือแสดงออกซึ่งการคัดค้านรัฐบาล การเลือกพรรคการเมืองที่เห็นว่าดีที่สุด การเลือกอุดมการณ์ทางการเมืองที่เห็นว่าดีที่สุด รวมไปถึงพฤติกรรมของผู้นำการเมือง เป็นต้น พฤติกรรมทางการเมืองที่มีลักษณะเด่นคือ การมีส่วนร่วมทางการเมือง ดังรายละเอียดดังนี้

4) การมีส่วนร่วมทางการเมือง มีผู้ให้นิยามความหมายของคำว่า การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองไว้มากมายและ Myron Weiner (อ้างในสิทธิพันธ์ พุทธหุน : 2542) ได้สรุปนิยามที่มักจะใช้นำมาอ้างกันโดยทั่ว ๆ ไป โดยแบ่งออกเป็น 10 ความหมายด้วยกัน คือ

1.หมายถึงการให้การสนับสนุนและการเรียกร้องต่อผู้นำในรัฐบาล เพื่อให้สนอง

ตอบต่อความต้องการใด ๆ

2. หมายถึงความพยายามที่จะสร้างผลกระทบ ต่อการดำเนินงานของรัฐบาลที่ได้ผลและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

3. หมายถึง กิจกรรมทางการเมืองที่ถูกต้องตามกฎหมาย เช่น การออกเสียง การยื่นข้อเรียกร้อง การประท้วง การลอบบี้ เป็นต้น

4. หมายถึง การใช้สิทธิเลือกตั้งตัวแทนเข้าไปใช้อำนาจแทนตนเอง

5. หมายถึง ความรู้สึกแปลกแยกหรือตีตนออกจากระบบการเมืองอันเนื่องมาจากการถูกกีดกันไม่ให้เขาได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วม พวกนี้มีศักยภาพที่จะกลับเข้ามาแก้ไข เปลี่ยนแปลงระบบการเมืองเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางที่พวกเขาเห็นว่าเหมาะสมหรือยุติธรรมกว่าเก่า

6. หมายถึงกิจกรรมของพวกที่ตื่นตัวในทางการเมือง ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้รวมไปถึงการพูดคุย ถกเถียงปัญหาในทางการเมืองก็ได้ ไม่จำเป็นเสมอไปว่าจะต้องอยู่ในรูปของการใช้สิทธิเลือกตั้ง

7. หมายถึง กิจกรรมทางการเมืองทุกชนิด ทั้งแบบที่ใช้ความรุนแรง และแบบที่ไม่ใช่ความรุนแรง

8. หมายถึง กิจกรรมทางการเมืองและกิจกรรม ที่ต้องการเข้าไปมีอิทธิพลต่อการดำเนินการของข้าราชการด้วย

9. หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่กระทบต่อการเมืองระดับชาติ แต่บางคนมองว่าจะต้องรวมถึงกิจกรรมที่กระทบต่อองค์กรส่วนท้องถิ่นด้วย

10. หมายถึง กิจกรรมทุกชนิดที่เป็นการเมือง

อย่างไรก็ตาม Weiner (อ้างใน สิทธิพันธ์ พุทธหุน : 2542) ได้สรุปนิยามของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองโดยใด้แจกแจงเป็นองค์ประกอบย่อย ๆ 2 ประการด้วยกัน คือ

1. จะต้องมีกิจกรรม เช่น การพูด คุย และร่วมดำเนินการใด ๆ แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงทัศนคติหรือความรู้สึก

2. จะต้องมีกิจกรรมในลักษณะที่เป็นอาสาสมัครจะต้องมีข้อเลือกหรือทางให้เลือกมากกว่าหนึ่งเสมอ

ส่วน Robert Dahl (อ้างใน สิทธิพันธ์ พุทธหุน. 2538 : 152-155) ได้กล่าวถึงการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ

1. กลุ่มที่ไม่สนใจการเมือง (apologetical strata) กลุ่มนี้ประกอบด้วยบุคคลที่ไม่ยินดียินร้าย ไม่มีความตื่นตัวกระตือรือร้นทางการเมือง ส่วนสาเหตุที่ทำให้บุคคลไม่สนใจการเมืองนั้นสรุปดังนี้

1.1 พวกคิดเชิงเปรียบเทียบ ซึ่งคิดว่าถ้าเขาดำเนินกิจกรรมอื่นที่ไม่ใช่กิจกรรมทางการเมืองจะได้รับผลประโยชน์หรือได้รับค่าตอบแทนที่มีคุณค่าสูงกว่ากิจกรรมทางการเมือง

1.2 ตัวเลือกหรือทางเลือกไม่แตกต่างกัน ถึงแม้ไม่ไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งก็ไม่เป็นไร

1.3 การเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองไม่มีผลผิดแผกไปจากเดิม

1.4 ผลที่ได้จากกิจกรรมทางการเมืองเป็นไปตามที่คนปรารถนา สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับทุกคนค่อนข้างแน่นอน แม้ว่าตนจะไม่ไปใช้สิทธิหรือเข้าไปมีส่วนร่วมด้วยก็ตาม

1.5 มองว่าการเมืองเป็นเรื่องสลับซับซ้อน ต้องมีความเชี่ยวชาญชำนาญในทางนี้ หรือไม่ก็ต้องมีการศึกษา มีความรู้ดี ส่วนพวกตนมีความรู้น้อยเกินไปที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ

1.6 กระบวนการในระบบการเมือง ตลอดจนวิธีการในการเข้าไปมีส่วนร่วมที่ซับซ้อน หยุมหยิมเกินความจำเป็นก็นับเป็นอุปสรรคที่สำคัญยิ่งที่ทำให้บุคคลเพิกเฉย ไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมือง2 กลุ่มการเมือง (political strata) บุคคลกลุ่มนี้ประกอบไปด้วยผู้ที่ให้ความสนใจและแสวงหาข่าวสารทางการเมืองอย่างสม่ำเสมอมีความห่วงใยและรู้ดีว่าตนเองสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ และพวกนี้จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง มีความตื่นตัว และจะพยายามที่จะแสวงหาอำนาจทางการเมือง หรือไม่ก็เข้าไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจทางการเมืองในรูปใดรูปหนึ่ง บุคคลในกลุ่มนี้อาจแบ่งออกได้อีกเป็น 2 กลุ่มย่อย ๆ ด้วยกันคือ

2.กลุ่มที่แสวงหาอำนาจ (power seekers) กลุ่มนี้ประกอบไปด้วยบุคคลที่พยายามใช้ทรัพยากรหรือสิ่งที่มีคุณค่าที่มีอยู่ทุกชนิดเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ โดยสรุปแล้วพวกนี้จะใช้ข้ออ้างของการแสวงหาอำนาจของตนเองดังต่อไปนี้

2.1เพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยส่วนรวม

2.1เพื่อประโยชน์ส่วนตน

2.1เพื่อเป็นการสนองตอบต่อแรงกระตุ้นจากจิตใต้สำนึก เช่น ต้องการให้ได้มาซึ่งอำนาจ เพื่อใช้อำนาจนั้นเป็นเครื่องมือเพื่อให้ได้มาในสิ่งที่ตนเองถูกกีดกันในตอนวัยเยาว์ เป็นต้น

3.กลุ่มผู้นำที่มีอำนาจ (powerful elites) หมายถึงกลุ่มบุคคลที่สามารถนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพและชำนาญกว่าในการให้ได้มาซึ่งอำนาจทางการเมือง

ถ้าเรามองว่า การเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งของสังคมที่ทันสมัย และสังคมที่ทันสมัยแล้วนั้นมีพื้นฐานสำคัญในทางการเมืองของระบบการเมืองที่พัฒนาแล้ว เราจะพบว่าการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองมีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาการเมือง โดยเฉพาะในประเทศเกิดใหม่ และประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลกซึ่งต่างก็พยายามเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ประเทศที่ยึดเอาอุดมการณ์ประชาธิปไตยเป็นหลักในการปกครอง ยึดหลักการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ก็จำเป็นต้องส่งเสริมให้ประชาชนภายในประเทศเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองและโดยใช้การเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองนี้เองที่ผู้ปกครองอ้างในความชอบธรรมของอำนาจนอกจากจะศึกษาการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนแล้ว สิ่งสำคัญที่น่าจะศึกษาต่อไปก็คือ รูปแบบของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง นั้นมีรูปแบบเป็นอย่างไรบ้าง ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับรูปแบบของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองดังนี้

5)รูปแบบของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเนื่องจากการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นปรากฏการณ์ของกิจกรรมทางการเมืองหลายอย่างรวมกันอยู่ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ต่างก็มุ่งที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลทั้งสิ้น รูปแบบต่าง ๆ ของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือในแต่ละสังคมอาจเน้นหรือให้ความสำคัญแตกต่างกัน ไป บางสังคมอาจให้ความสำคัญกับการไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งระดับชาติ แต่บางสังคมอาจเข้าไปมีส่วนร่วมในรูปของการเดินขบวนประท้วงรัฐบาลก็ได้ นอกจากนี้ในการที่บุคคลแต่ละคนจะยึดเอาการเข้ามีส่วนร่วมในรูปแบบใด ๆ เป็นแนวทาง ย่อมที่จะต้องมีกระบวนการที่แตกต่างกันไปด้วย พวกที่เข้าไปช่วยหาเสียงให้ผู้สมัครรับการเลือกตั้ง อาจดำเนินการได้โดยเข้าเป็นสมาชิกพรรคนั้น ๆ ปฏิบัติการไปตามแนวทางหรือแนวนโยบายที่พรรควางไว้ให้ ส่วนพวกที่ติดต่อโดยตรงกับผู้แทนราษฎรเพื่อหวังที่จะให้ผู้แทนช่วยเหลือการใด ๆ ก็ย่อมที่จะใช้กระบวนการที่ต่างกันไป ดังนั้น สิทธิพันธ์ พุทธหุน (2538 : 158-161) จึงกล่าวถึงรูปแบบต่าง ๆ ของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบคือ

1. การใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นกิจกรรมของบุคคลแต่ละคนในการเลือกตัวแทนของตนเข้าไปมีอำนาจในการปกครอง สิทธิในการเลือกตั้งจึงอาจนับได้ว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญยิ่งในการควบคุมรัฐบาล แต่การไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งจะแตกต่างกันไป จากกิจกรรมการเข้ามีส่วนร่วมในรูปแบบอื่น ๆ ที่สังคมเป็นผู้กำหนดโอกาสให้ เช่น 4 ปีต่อครั้ง จึงทำให้ความรู้สึกสร้างสรรค์ของคนมีน้อยมาก

2. กิจกรรมการรณรงค์หาเสียงเป็นกิจกรรมในลักษณะเดียวกับการใช้สิทธิเลือกตั้ง แต่เป็นรูปของการเข้าไปมีส่วนร่วมในการรณรงค์หาเสียง กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ประชาชนอาจใช้เพื่อเพิ่มอิทธิพลที่เขาพึงมีต่อผลของการเลือกตั้งนอกเหนือไปจากเสียง1 เสียงที่เขาได้จากสิทธิในการเลือกตั้งแล้ว กิจกรรมรณรงค์หาเสียงนี้นับเป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างยากเมื่อเปรียบเทียบกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

3. กิจกรรมของชุมชนเป็นกิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กรที่ราษฎรร่วมกันดำเนินการ เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมและการเมือง ในกรณีนี้ราษฎรจะร่วมมือกันเพื่อใช้อิทธิพลต่อการดำเนินงานของรัฐบาล กิจกรรมในรูปแบบนี้เป็นไปอย่างมีเป้าหมายที่แน่นอนและมีอิทธิพลมาก

4. การติดต่อเป็นการเฉพาะ เป็นรูปแบบสุดท้ายของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง และจะเกี่ยวเนื่องกับราษฎรรายบุคคลไปติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการเพื่อให้แก้ไขปัญหาใด ๆ เฉพาะตัวหรือของครอบครัว กิจกรรมในรูปแบบนี้มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลน้อยมาก

Huntington กับNelson (อ้างใน ประหยัด หงษ์ทองคำ. 2526 : 56-58) ได้จำแนกรูปแบบของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองในลักษณะที่คล้ายคลึงกันแต่ก็ได้เพิ่มเติมในบางรูปแบบเพื่อให้สมบูรณ์และครอบคลุมเนื้อหามากยิ่งขึ้น ดังนี้

1. กิจกรรมการเลือกตั้ง หมายถึง รวมถึงกิจกรรมการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง และการเข้าร่วมรณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้งด้วย

2. การลอบบี้ (lobby) หมายถึง การเข้าหาเจ้าหน้าที่หรือผู้นำทางการเมืองเพื่อหาทางเข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐบาลโดยให้ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มเป็นเกณฑ์

3. กิจกรรมองค์กร เป็นกิจกรรมทางการเมืองของกลุ่มองค์กรใด ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์เฉพาะอย่างหรืออาจเป็นผลประโยชน์สูงสุดของส่วนรวมก็ได้

4. การติดต่อ หมายถึง การเข้าหาเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการเป็นการส่วนตัวโดยปกติจะมุ่งหวังผลประโยชน์ส่วนตัวหรือครอบครัว

5. การใช้กำลังรุนแรง คือกิจกรรมที่พยายามจะสร้างผลกระทบต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาลโดยการทำร้ายร่างกายหรือทำลายทรัพย์สิน กิจกรรมนี้อาจดำเนินไปโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะเปลี่ยนแปลงผู้นำทางการเมือง เช่น กิจกรรมรัฐประหาร การลอบสังหารผู้นำทางการเมือง หรืออาจจะมุ่งที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการเมือง เช่น การทำปฏิวัติก็ได้ ส่วน Almond กับ Powell (อ้างใน ประหยัด หงษ์ทองคำ. 2526 : 59) ได้จำแนกรูปแบบของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองที่ค่อนข้างจะละเอียด กระจ่างชัดและครอบคลุมเนื้อหากว่าการจำแนกข้างต้น ในการนี้ Almond และ Powell ได้แบ่งรูปแบบของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองออกเป็น 2 รูปแบบใหญ่ คือ แบบ Conventional กับ Unconventional และในแต่ละรูปแบบยังจำแนกออกเป็นแบบย่อย ๆ อีกจำนวนหนึ่ง ดังตารางต่อไปนี้

ตารางที่1.1:รูปแบบของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง


Conventional Forms Unconventional Forms


1. การออกเสียงเลือกตั้ง 1. การยื่นข้อเสนอเรียกร้อง

2. การพูดจาปรึกษาเรื่องการเมือง 2. การเดินขบวน

3. กิจกรรมการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง 3. การเข้าประจัญหน้ากัน

4. การจัดตั้งและการเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มต่าง ๆ 4. การละเมิดกฎระเบียบของสังคม

5. การติดต่อส่วนตัวกับเจ้าหน้าที่ทางการเมือง 5. การใช้ความรุนแรง

และการบริหาร 5.1 ประทุษร้ายต่อทรัพย์

5.2 ประทุษร้ายต่อบุคคล

6. สงครามกองโจรและการปฏิวัติ


6.หลักพุทธธรรมสำหรับการส่งเสริมจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมประชาธิปไตย

หลักพุทธธรรมที่นำมาประพฤติปฏิบัติคือ[7]หลักสุจริต 3คือเป็นหมวดธรรมที่สำคัญมากในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐบาลได้พยายามเน้นในเรื่องของการโปร่งใสในการบริหารบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองสะอาด นั้นก็หมายความว่าบ้านเมืองจะต้องปราศจากการทุจริตคดโกง มีสินบน โดยการพยายามออกกฏหมายในรูปแบบต่าง ๆ ออกมาใช้ หลักธรรมข้อนี้ประกอบด้วย

1) กายสุจริต เมื่อผู้นำมีการกระทำที่มีความสุจริตไม่โกงกิน บ้านเมืองก็มีความเจริญก้าวหน้า มีการพัฒนาตามศักยภาพ เงินงบประมาณก็ถูกใช้ให้เกิดความคุ้มค่ามีการพัฒนาอย่างทั่วถึงเต็มเม็ดเต็มหน่วย เมื่อผู้นำไม่ทุจริตคดโกง ลูกน้องก็ไม่กล้า ถ้าผู้นำทุจริตลูกน้องก็ทำตาม ซึ่งธรรมะข้อนี้มีความสำคัญต่อบ้านเมืองเป็นอย่างมาก

2)วาจาสุจริตแม้วาจาจะดูแล้วไม่น่าจะมีความสำคัญต่อการบริหารปกครอง แต่โดยความเป็นจริงแล้วมีความสำคัญเป็นอย่างมากในเรื่องของการใช้คำพูด เช่น การพูดโน้มน้าวจิตใจคน การพูดประสานคน การเจรจาต่อรอง งานด้านการทูต เป็นต้น

3) มโนสุจริต มีคนกล่าวว่าจิตคิดอย่างไรก็พูดอย่างนั้น คนพูดอย่างไรก็ทำอย่างนั้น แม้บางครั้งการกระทำ-การพูด-การคิด อาจจะไม่ตรงกันเพราะความปิดบังของคน แต่โดยมากแล้วย่อมเป็นไปตามนัยดังกล่าว ดังนั้นในข้อนี้เป็นการแสดงออกมาทางความคิดเห็น ที่ผู้นำสูงสุดจะต้องแสดงให้ผู้ใต้ปกครองได้เห็น หรือที่เรียกว่าการแสดงวิสัยทัศน์ นั้นเอง

คำว่า กุศลกรรมบถ 10 ในบาลีเรียกชื่อหลายอย่าง เช่นว่า ธรรมจริยา[8] ความประพฤติธรรมบ้าง โสไจย[9] ความสะอาดหรือเครื่องชำระตัวบ้าง อริยธรรม อารยธรรม, ธรรมของผู้เจริญบ้าง อริยมรรค มรรคาอันประเสริฐบ้าง สัทธรรม ธรรมดี, ธรรมแท้บ้าง, สัปปุริสธรรม[10] ธรรมของสัตบุรุษบ้างมนุษย์ที่ประพฤติปฏิบัติตนให้ตั้งอยู่ในหลักกุศลกรรมบถได้ มิใช่จะได้รับประโยชน์แต่ในปัจจุบันนี้เท่านั้น ยังเป็นเหตุปัจจัยให้ผู้ที่ประพฤติได้รับถึงประโยชน์ในโลกหน้าด้วย คือ เมื่อละจากโลกนี้ไปแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ตามที่ปรากฏในพุทธพจน์ ทรงตรัสว่า

พราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ความประพฤติเรียบร้อยคือความประพฤติธรรมทางกายมี 3 ประการ คือ (1) เป็นผู้ละเว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ (2) เป็นผู้ละเว้นขาดจากการลักทรัพย์ (3) เป็นผู้ละเว้นขาดจากการประพฤติผิดในกาม ความประพฤติธรรมทางวาจา 4 ประการ คือ (1) เป็นผู้ละเว้นขาดจากการพูดเท็จ (2) เป็นผู้ละเว้นขาดจากการพูดส่อเสียด (3) เป็นผู้ละเว้นขาดจากการพูดคำหยาบ (4) เป็นผู้ละเว้นขาดจากการพูดเพ้อเจ้อ ความประพฤติทางใจ 3 ประการ คือ (1) เป็นผู้ไม่เพ่งเล็งอยากได้ของเขา (2) เป็นผู้ไม่มีจิตพยาบาท (3) เป็นสัมมาทิฏฐิพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายบางพวกในโลกนี้ เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เพราะเหตุประพฤติเรียบร้อย คือ ประพฤติธรรม (กศุลกรรมบถ) อย่างนี้แล[11]

กล่าวได้ว่าหลักจริยธรรมทั้ง 10 ประการจะมุ่งเน้นไปพฤติกรรมทั้งภายในและภายนอกที่ส่งผลการกระทำไปสู่สังคมให้มีความสงบเรียบร้อยในการปฏิบัติหน้าที่ข้าราชการหรือการบริหารเชิงจริยธรรมของผู้นำในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกรูปแบบสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในลักษณะการส่งเสริมเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยในระดับพฤติกรรม ระดับองค์กร และระดับชาติได้

ตารางภาพที่ 1.2: แสดงหลักพุทธธรรมสำหรับการส่งเสริมจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมประชาธิปไตย

ลำดับ

ชื่อนักวิชาการ

หลักพุทธธรรมสำหรับการส่งเสริมจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมประชาธิปไตย

1

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), (2546)

1. กายสุจริตคือ การประพฤติชอบด้วยกาย

2. วจีสุจริต คือ การประพฤติชอบด้วยวาจา

3. มโนสุจริต คือ การประพฤติชอบด้วยใจ

2

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต),(2546)

สุจริต คือ ทางแห่งกุศลกรรม, ทางทำความดี, กรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่ความเจริญหรือสุคติ

3

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), (2550)

1. กายกรรม 3

2. วจีกรรม 4

3. มโนกรรม 3

1.2.1 การประพฤติชอบด้วยกาย[12]

การประพฤติชอบด้วยกาย เป็นการกำหนดลักษณะอาการที่บุคคลไม่กระทำร้ายต่อผู้อื่นให้ได้รับความลำบาก เดือดร้อยที่มีผลต่อความเจ็บปวด ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่ 1.การละเว้นจากปาณาติบาต 2.การละเว้นการอทินนาทาน และ3.การละเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร ดังนี้

1) การเว้นจากปาณาติบาตคือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดการฆ่าสัตว์วางทัณฑะวางศาสตราเสียแล้วมีความละอายมีความเอ็นดูมีกรุณาหวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งปวงอยู่ ลักษณะของปาณาติบาต คือการเข้าไปตัดชีวิตินทรีย์ของบุคคลผู้ฆ่าสัตว์คือเป็นคนเหี้ยมโหดมีมือเปื้อนเลือดพอใจในการประหารและการฆ่าไม่มีความละอายไม่ถึงความเอ็นดูในสัตว์ ด้วยกาย คือกระทำด้วยตนเอง หรือด้วยวาจา คือสั่งให้ผู้อื่นฆ่า[13]ในอรรถกถาธรรมบท ภาค 5 เรื่อง พระมหาโมคคัลลานเถระ พระพุทธองค์ตรัสว่า

“ผู้ใด ประทุษร้ายในท่านผู้ไม่ประทุษร้ายทั้งหลาย ผู้ไม่มีอาชญา ด้วยอาชญา ย่อมถึงฐานะ 10 อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่งพลันทีเดียว คือ ถึงเวทนากล้า 1 ความเสื่อมทรัพย์ 1 ความสลายแห่งสรีระ 1 อาพาธหนัก 1 ความฟุ้งซ่านแห่งจิต 1 ความขัดข้องแต่พระราชา 1 การถูกกล่าวตู่อย่างร้ายแรง 2 ความย่อยยับแห่งเครือญาติ 1 ความเสียหายแห่งโภคะทั้งหลาย 1 อีกอย่างหนึ่ง ไฟย่อมไหม้เรือนของเขา 1, ผู้นั้นมีปัญญาทราม เพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงนรก.”[14]

คนที่ประทุษร้ายคนอื่นด้วยวิธีการต่างๆ จะด้วยเจตนาหรือไม่เจตนาอย่างอื่นก็ตาม เช่น ทำร้ายเขาด้วยการฆ่าฟัน ทุบตี กักขัง หน่วงเหนี่ยว เป็นต้นหากไม่กระทำร้ายตอบ ผู้ที่ประทุษร้ายเขานั่นเหละจะได้รับผลจากการกระทำของตน เพราะถือว่าการกระทำเช่นนั้นเป็นบาปกรรมอย่างหนึ่ง ฐานทำให้ผู้บริสุทธิ์หรือผู้ไม่มีความผิดได้รับความเดือดร้อนทั้งกายและใจ ท่านเปรียบเหมือนกับฝุ่นละอองที่ถูกลมเป่าทวนลมไป ฝุ่นละอองนั้นก็จะถูกลมพัดย้อนกลับมาหาผู้เป่านั้นเอง[15] บุคคลจึงไม่สมควรพูดร้าย ทำร้าย และคิดร้ายตอบต่อกัน ย่อมทำให้บรรลุพระนิพพานแก่บุคคลนั้นได้ในลักษณะทางกายเช่น มีการตบ ตี ด้วยมือ เท้า ศอก และอื่น ๆ ต่อกันเป็นต้น

การทำร้ายร่างกาย หมายถึง การทำร้ายผู้อื่น(เฉพาะมนุษย์)โดยการทำให้พิการเสียโฉมหรือเจ็บลำบากแต่ไม่ถึงแก่ชีวิตแยกออกเป็น 3 อย่าง[16]คือ

1) ทำให้พิการ คือ ทำให้เสียอวัยวะเป็นเครื่องใช้การ เช่น ทำให้เสียนัยน์ตา เสียแขน เสียขา เป็นต้น

2) ทำให้เสียโฉม คือ ทำร่างกายให้เสียรูป เสียงามไม่ถึงพิการเช่นใช้มีดหรือไม้กรีดหรือตีที่ใบหน้าให้เป็นแผลเป็น เป็นต้น

3) ทำให้เจ็บลำบาก คือ ทำร้ายไม่ถึงเสียโฉม เป็นแต่เสียความสำราญ

ทรกรรม หมายความว่า ประพฤติเหี้ยมโหดแก่สัตว์ไม่ปรานีดังจะชี้ตัวอย่างให้เห็นตามที่จัดเป็นแผนกดังนี้

1) ใช้การ หมายถึง ใช้สัตว์ไม่มีปรานีปล่อยให้อดอยากซูบผอม ไม่ให้กินไม่ให้นอน ไม่ให้หยุดพักผ่อนตามกาล ขณะใช้งานก็เฆี่ยนตี ทำร้ายร่างกายโดยไม่มีเมตตาจิตหรือใช้การเกินกำลังของสัตว์ เช่น ให้เข็นภาระอันหนักเหลือเกิน เป็นต้น จัดเป็นทรกรรมในการใช้การ

2) กักขัง หมายถึง กักขังให้อดอยาก อิดโรย หรือผูกรัดไว้จนไม่สามารถจะผลัดเปลี่ยนอิริยาบถได้ จัดเป็นทรกรรมในการกักขัง

3) นำไป พึงเห็นในการผูกมัด เป็ด ไก่ สุกร หิ้วหามเอาศีรษะลง เอาเท้าขึ้น ผู้ทำเช่นนี้จัดเป็นทรกรรมในการนำไป

4) เล่นสนุก พึงเห็นในการทึ้งปีก ทึ้งขาของสัตว์ มีตั๊กแตน และจิ้งหรีดเป็นต้น เพื่อความสนุกของตน

5) ผจญสัตว์ พึงเห็นในการชนโค ชนกระบือ ชนแพะ ชนแกะ ตีไก่กัดปลา กัดจิ้งหรีด เป็นต้นการพิจารณาตัดสินลักษณะของปาณาติบาต[17]การที่จะทราบได้ว่า บุคคลได้ทำปาณาติบาต คือการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกไปแล้วเป็นอกุศลกรรมที่ต้องได้รับผลของการกระทำมีองค์5 คือสัตว์นั้นมีชีวิต1ความเป็นผู้สำคัญว่าสัตว์มีชีวิต1มีจิตคิดจะฆ่า1มีความพยายาม1สัตว์นั้นตายด้วยความพยายามนั้น 1

ดังนั้น พระพุทธองค์ตรัสว่า “สัตว์ทั้งหมด ย่อมหวาดหวั่นต่ออาชญา สัตว์ทั้งหมด ย่อมกลัวต่อความตาย บุคคลทำตนให้เป็นอุปมา ไม่ควรฆ่าเอง ไม่ควรใช้ให้ฆ่าผู้อื่น”[18] และพระคาถาหนึ่งทรงตรัสว่า “สัตว์ผู้เกิดแล้วทั้งหลาย เป็นผู้ใคร่ความสุข บุคคลใดแสวงหาสุขเพื่อตน แต่เบียดเบียนสัตว์อื่นด้วยท่อนไม้ บุคคลนั้นละไปแล้วย่อมไม่ได้ความสุข สัตว์ผู้เกิดแล้วทั้งหลาย เป็นผู้ใคร่สุข บุคคลใดแสวงหาสุขเพื่อตน ไม่เบียดเบียนผู้อื่นด้วยท่อนไม้ บุคคลนั้นละไปแล้วย่อมได้สุข.”[19]

กล่าวได้ว่า การงดเว้นจาปาณาติบาต เป็นการงดเว้นจาการกระทำร้ายบุคคลอื่นด้วยวิธีการต่าง ๆ อันมีการตบ ตี ด้วยมือ เท้า ศอก และอื่น ๆ ต่อกันเป็นต้น หากบุคคลใดกระทำร้ายทางกายให้บุคคลอื่นได้รับความลำบาก บาดเจ็บหรือถึงขั้นเสียชีวิต บุคคลย่อมได้รับความโทษ ทางกฎหมายจะต้องถูกจองจำหรือขั้นประหารชีวิตเมื่อตายไปก็จะเข้าถึงอบายภูมิโลกนรกย่างแน่นอน และยิ่งบุคคลนั้นมีบุญคุณ มีศีลและมีคุณธรรมมาก ความผิดก็จะยิ่งมากขึ้นไปตามเจตนาของแต่ละการกระทำ

2) การงดเว้นจากอทินนาทาน คือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้ ละการถือเอาทรัพย์ที่เขามิได้ให้เว้นขาดจากการลักทรัพย์ไม่ลักทรัพย์เป็นอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจของผู้อื่นที่อยู่ในบ้านหรือที่อยู่ในป่าที่เจ้าของมิได้ให้ซึ่งนับว่าเป็นขโมยลักษณะของอทินนาทาน คือ ลักษณะของการลักทรัพย์เป็นอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจของบุคคลอื่นที่อยู่ในบ้านหรือที่อยู่ในป่าที่เจ้าของมิได้ให้ซึ่งนับว่าเป็นขโมยนอกจากนี้ การถือเอาสิ่งของที่ไม่มีผู้ให้ ด้วยการกระทำอย่างโจรทุกอย่าง จัดเป็นโจรกรรม ในทางศีลธรรม ท่านรวมไว้ 14 วิธีด้วยกัน ดังนี้

1)อาการลักขโมย ได้แก่ การขโมยทรัพย์ของคนอื่นที่เจ้าของเขาไม่เห็น มีชื่อเรียกต่างกัน ดังนี้

(ก)ขโมย ในเวลาเงียบเห็นเขาตากผ้าไว้ ไม่ให้เจ้าของรู้ หยิบเอาของเขาไป

(ข)ย่องเบา เวลาสงัดคน แอบเข้าไปในบ้าน หยิบฉวยเอาของต่างๆ ไป

(ค)ตัดช่อง งัดหรือเจาะประตูหน้าต่างที่ปิดช่องอยู่ แล้วหยิบเอาของเขาไป

2)อาการฉก ได้แก่ การถือเอาของในเวลาเจ้าของเผลอ มีชื่อเรียกต่างกันตามอาการ ดังนี้

(ก)วิ่งราว คนถือเอาของมากำลังเผลอ เข้าแย่งแล้ววิ่งหนีไป

(ข)ตีชิง ตีเจ้าของทรัพย์ให้เจ็บตัว แล้วถือเอาของไป

3)อาการกรรโชก แสดงอำนาจ หรือใช้อาวุธให้เขากลับแล้วให้ของ เรียกว่า ขู่ หรือจี้

4)อาการปล้น ได้แก่ รวมพวกกันหลายคน มีศาสตราวุธเก็บเอาของผู้อื่นด้วยอำนาจ

5)อาการตู่ คือ อ้างกรรมสิทธิ์ ยืนยันเอาของคนอื่นมาเป็นของตน

6)อาการฉ้อ ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาทรัพย์ของผู้อื่น เช่น รับของแล้วโกงเสีย อ้างว่าเป็นของของตน

7)อาการหลอก ได้แก่ กิริยาที่พูดปด เพื่อถือเอาของของผู้อื่น

8)อาการลวง ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาของผู้อื่น ด้วยแสดงของอย่างใดอย่างหนึ่งให้เข้าใจผิด เช่น ใช้เครื่องชั่งเครื่องตวงโกง

9)อาการปลอม ได้แก่ กิริยาที่ทำของปลอมให้คนอื่นเห็นว่าเป็นของแท้ แล้วแลกเปลี่ยนเอาทรัพย์ไป

10)อาการตระบัด ได้แก่ กิริยาที่ยืมของคนอื่นไปใช้ แล้วเอาเสีย เช่น ยืมของแล้วไม่ส่งคืน กู้เงินเขาแล้วเบี้ยวไม่ส่ง ดอก

11)อาการเบียดบัง ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาเศษ เช่น ท่านใช้ให้ไปเก็บเงินค่าเช่าบ้าน เป็นต้น ได้มากแต่ให้ท่านน้อย

12)อาการลักลอบ ได้แก่ กิริยาที่ลักลอบเอาของที่ต้องห้ามหลบหนีภาษี เช่น สินค้าเถื่อน เป็นต้น

13)อาการสับเปลี่ยน ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาสิ่งของของตน ที่เลวเข้าไว้แทน แล้วเอาสิ่งของที่ดีของผู้อื่น

14)อาการยักยอก ได้แก่ กิริยาที่ยักยอกทรัพย์ของตน ที่จะต้องถูกยึด เอาไว้เสียที่อื่น[20]

การพิจารณาตัดสินลักษณะของอทินนาทาน[21] ได้แก่ บุคคลผู้ที่จะประกอบอทินนาทานสำเร็จนั้น พิจารณาได้จากองค์ 5 คือ พัสดุอันผู้อื่นหวงแหน1มีความเป็นผู้มีความสำคัญว่าเป็นของอันผู้อื่นหวงแหน1มีจิตคิดจะลัก1 มีความพยายาม1ลักมาได้ด้วยความพยายามนั้น1นอกจากนี้ ยังมีคำว่า อนุโลมโจรกรรม หมายถึง กิริยาที่อุดหนุนโจรกรรมหรืออุปการะแก่ผู้ประพฤติผิดศีลธรรม ซึ่งรวมไปถึงการปอกลอกลวง โดยการคบกับผู้อื่นเพื่อผลประโยชน์ด้วยอาการไม่ซื่อสัตย์ มุ่งจะเอาแต่ประโยชน์ของเขาฝ่ายเดียวและรับสินบนของผู้อื่นเพื่อกระทำในทางที่ผิดศีลธรรม และฉายาโจรกรรม หมายถึงกิริยาที่ทำทรัพย์พัสดุของผู้อื่นให้สูญหรือเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน ผลาญคือทำอันตรายแก่ทรัพย์พัสดุหรือหยิบฉวยทรัพย์พัสดุของผู้อื่นมาด้วยความมักง่าย โดยคิดว่าเจ้าของคงไม่ว่าอะไร[22]ซึ่งลักษณะอาการที่เข้าข่ายในการพิจารณาองค์ประกอบทางการลักขโมยอีกด้วย

3)การงดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร คือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้ละการประพฤติผิดในกามทั้งหลายเว้นขาดจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลายคือไม่ถึงความสมสู่ในพวกหญิงที่มารดารักษาที่บิดารักษาที่มารดาและบิดารักษาที่พี่ชายรักษาที่พี่สาวรักษาที่ญาติรักษาที่มีสามีที่อิสรชนหวงห้ามที่สุดหญิงที่เขาคล้องแล้วด้วยพวงมาลัย ซึ่งมีลักษณะของการประพฤติผิดในกาม คือ ข้อที่บุคคลมีเจตนาเป็นเหตุก้าวล่วงฐานะอันบุคคลไม่พึงถึง ได้แก่ ภรรยา หรือสามีของคนอื่น หรือลูกสาวที่ยังมีผู้ปกครองดูแลเป็นไปทางกายทวารด้วยประสงค์อสัทธรรม คือการมีเพศสัมพันธ์

หญิงที่ต้องห้ามสำหรับชาย มี 3 ประเภท[23] คือ

(1) หญิงมีสามี ที่เรียกว่า ภรรยาท่าน ได้แก่ หญิง 4 จำพวก คือ

(1)หญิงที่แต่งงานกับชายแล้ว

(2)หญิงที่ไม่ได้แต่งงาน แต่อยู่กินกับชายอย่างเปิดเผย

(3)หญิงที่รับสิ่งของ มีทรัพย์ เป็นต้น ของชายแล้วยอมอยู่กับเขา

(4)หญิงที่ชายเลี้ยงเป็นภรรยา

2) หญิงที่ญาติรักษา คือ มีผู้ปกครอง ไม่เป็นอิสระแก่ตน เรียกว่า หญิงอยู่ในพิทักษ์รักษาของท่าน คือ หญิงที่มารดาบิดารักษา หรือญาติรักษา

3) หญิงที่จารีตรักษา ที่เรียกว่า จารีตห้าม ได้แก่ หญิงที่เป็นเทือกเถาเหล่ากอ3 ประเภทคือ

(1) เทือกเถา คือ ญาติผู้ใหญ่ นับย้อนขึ้นไป 3 ชั้น มี ย่าทวด ยายทวด 1 ย่า ยาย 1 แม่ 1เหล่ากอ คือ ผู้สืบสายจากตนลงไป 3 ชั้น มีลูก 1 หลาน 1 เหลน 1

(2) หญิงที่อยู่ใต้พระบัญญัติในพระศาสนา อันห้ามสังวาสกับชาย เช่น ภิกษุณี ในกาลก่อน หรือ แม่ชีในบัดนี้

(3)หญิงที่บ้านเมืองห้าม เช่น แม่หม้ายงานท่าน อันมีในกฎหมาย

หญิง 3 จำพวกนี้ จะมีฉันทะร่วมกัน หรือไม่ร่วมกัน ไม่เป็นประมาณ ชายร่วมสังวาสด้วย ก็เป็นกามาสุมิจฉาจารหญิงที่เป็นวัตถุต้องห้ามของชายโดยพิสดารมี 20 จำพวก คือ1. หญิงที่มารดารักษา2. หญิงที่บิดารักษา3. หญิงที่มารดาบิดารักษา4. หญิงที่พี่ชายน้องชายรักษา5. หญิงที่พี่สาวน้องสาวรักษา6. หญิงที่ญาติรักษา7. หญิงที่โคตร หรือมีแซ่รักษา8. หญิงมีธรรมรักษา9. หญิงมีสามีรักษา10. หญิงมีสินไหม คือ พระราชารักษา11. หญิงที่ชายไถ่หรือซื้อมาด้วยทรัพย์เพื่อเป็นภรรยา12. หญิงที่อยู่กับชายด้วยความรักใคร่ชอบใจกันเอง13. หญิงที่อยู่เป็นภรรยาชายด้วยโภคทรัพย์14. หญิงที่เข็ญใจ ได้สักว่าผ้านุ่งผ้าห่มแล้วอยู่เป็นภรรยา15. หญิงที่ชายขอเป็นภรรยา มีผู้ใหญ่จัดการให้16. หญิงที่ชายช่วยปลงภาระอันหนักให้แล้ว ยอมเป็นภรรยา17. หญิงที่เป็นทาสีอยู่ก่อน แล้วชายเอามาเป็นภรรยา18. หญิงที่รับจ้างแล้ว ชายเอาเป็นภรรยา19. หญิงที่ชายรบข้าศึกได้เป็นเชลยแล้ว เอาเป็นภรรยา20. หญิงที่ชายอยู่ด้วยขณะหนึ่ง และหญิงนั้นก็เข้าใจว่าชายนั้นเป็นสามีของตนชายต้องห้ามสำหรับหญิง มี 2 ประเภทคือ1. ชายอื่นนอกจากสามี เป็นวัตถุต้องห้ามสำหรับหญิงที่มีสามีแล้ว และ2. ชายที่จารีตห้าม เป็นวัตถุต้องห้ามสำหรับหญิงทั้งปวง

ชายที่จารีตห้ามนั้น มี 3 จำพวก คือ1. ชายที่อยู่ในพิทักษ์รักษาของตระกูล เช่น ปู่ พ่อ ตา ทวด2. ชายที่อยู่ในพิทักษ์ของธรรมเนียม เช่น นักพรต นักบวช และ3. ชายที่กฎหมายบ้านเมืองห้าม เช่น พระภิกษุ สามเณร

หญิงที่ไม่เป็นวัตถุกาเมสุมิจฉาจารของชาย มี 4 อย่าง คือ1. หญิงที่ไม่มีสามี2. หญิงที่ไม่อยู่ในพิทักษ์รักษาของท่าน3. หญิงที่จารีตไม่ห้าม และ4. หญิงที่เป็นภรรยาของตน

ชายที่ไม่เป็นวัตถุแห่งกาเมสุมิจฉาจารของหญิงมี 4 คือ1. ชายที่ไม่มีภรรยา2. ชายที่จารีตไม่ห้าม3. สามีของตน และ4. ชายที่ทำโดยพลการพ้นอำนาจของหญิง (เช่นชายที่ข่มขืน)

องค์ของกาเมสุมิจฉาจาร[24]

การพิจารณากาเมสุมิจฉาจารในผู้หญิงหรือผู้ชายที่จะเป็นกาเมสุมิจฉาจารได้ก็ต่อเมื่อครบองค์ 4 คือวัตถุอันไม่ควรถึง (ชายหรือหญิงที่ต้องห้าม) 1 จิตคิดจะเสพในวัตถุอันไม่ควรถึงนั้น1 ทำความพยายามในอันที่จะเสพ1 มรรคต่อมรรคถึงกัน(การมีเพศสัมพันธ์) 1

ตารางภาพที่ 1.2.2 : แสดงการประพฤติชอบด้วยกาย

ลำดับ

ชื่อนักวิชาการ

การประพฤติชอบด้วยกาย

1

พระสิริมังคลาจารย์, (2538)

ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดการฆ่าสัตว์วางทัณฑะวางศาสตราเสียแล้วมีความละอายมีความเอ็นดูมีกรุณาหวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งปวงอยู่

2

พระธรรมกิตติวงศ์, (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.9 ราชบัณฑิต), (2544)

คนที่ประทุษร้ายคนอื่นด้วยวิธีการต่าง ๆ จะด้วยเจตนาหรือไม่เจตนาอย่างอื่นก็ตาม เช่น ทำร้ายเขาด้วยการฆ่าฟัน ทุบตี กักขัง หน่วงเหนี่ยว

3

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, (ออนไลน์)

1. การทำร้ายร่างกาย หมายถึง การทำร้ายผู้อื่น(เฉพาะมนุษย์)โดยการทำให้พิการเสียโฉมหรือเจ็บลำบากแต่ไม่ถึงแก่ชีวิต

2. ทรกรรม หมายความว่า ประพฤติเหี้ยมโหดแก่สัตว์ไม่ปรานี

4

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, (ออนไลน์)

การถือเอาสิ่งของที่ไม่มีผู้ให้ ด้วยการกระทำอย่างโจรทุกอย่าง จัดเป็นโจรกรรม ในทางศีลธรรม14 ประการ 1)อาการลักขโมย 2)อาการฉก 3)อาการกรรโชก 4)อาการปล้น 5)อาการตู่ 6)อาการฉ้อ 7)อาการหลอก 8)อาการลวง 9)อาการปลอม 10)อาการตระบัด 11)อาการเบียดบัง 12)อาการลักลอบ 13)อาการสับเปลี่ยน 14)อาการยักยอก

5

พระสิริมังคลาจารย์, (2538)

1. วัตถุอันไม่ควรถึง (ชายหรือหญิงที่ต้องห้าม)

2. จิตคิดจะเสพในวัตถุอันไม่ควรถึงนั้น

3. ทำความพยายามในอันที่จะเสพ

4. มรรคต่อมรรคถึงกัน(การมีเพศสัมพันธ์)

1.2.3 การประพฤติชอบด้วยวาจา[25]

1) การงดเว้นจากมุสาวาทคือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้ละการพูดเท็จเว้นขาดจากการพูดเท็จไปในทีประชุมหรือไปในหมู่ชนหรือไปในท่ามกลางญาติหรือไปในท่ามกลางขุนนางหรือไปในท่ามกลางราชสกุลหรือถูกนำไปเป็นพยานถูกถามว่าบุรุษผู้เจริญเชิญเถิดท่านรู้เรื่องใดก็จงบอกเรื่องนั้นเขาเมื่อไม่รู้ก็บอกว่าไม่รู้หรือเมื่อรู้ก็บอกว่ารู้เมื่อไม่เห็นก็บอกว่าไม่เห็น หรือเมื่อเห็นก็บอกว่าเห็นไม่กล่าวเท็จทั้งรู้อยู่เพราะเหตุตนบ้างเพราะเหตุผู้อื่นบ้างเพราะเหตุเห็นแก่สิ่งของเล็กน้อยบ้าง ซึ่งมีลักษณะของการกล่าวคำเท็จ คือ การที่บุคคลกล่าวหรือแสดงอาการทางกายอย่างใดอย่างหนึ่งมี การสั่นศีรษะเป็นต้นให้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง โดยมีเจตนาจะคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง เพื่อหักรานประโยชน์ของผู้อื่น

การกล่าวเท็จ คือ การโกหก หมายถึง การแสดงออกด้วยเจตนาบิดเบือนความจริง ให้คนหลงเชื่อแสดงออกได้ 2 ทาง[26] คือ

1)ทางวาจา ได้แก่ พูดโกหกชัด ๆ

2)ทางกาย ทำเท็จทางกาย เช่น เขียนจดหมาย โกหก ทำรายงานเท็จ ทำหลักฐานปลอม หรือ มีใครถามข้อความที่ควรรับ ก็สั่งศีรษะแสดงปฏิเสธเพื่อความสะดวกในการเรียน และการปฏิบัติ ท่านจำแนกกิริยาที่เป็นมุสาวาทไว้ 7 อย่าง คือ1)ปด2)ทนสาบาน3)ทำเล่ห์กระเท่ห์4)มารยา5)ทำเลศ6)เสริมความ และ7)อำความ

1)อาการปด ได้แก่ พูดมุสาชัดๆ ไม่อาศัย ไม่อาศัยมูลเหตุเลย เช่น เห็นว่าไม่เห็น รู้ว่าไม่รู้ โดยโวหารต่างกัน ตามความมุ่งหมายของผู้พูด ท่านแสดงไว้เป็นตัวอย่าง 4 ข้อ คือ

(ก)พูดเพื่อจะให้เขาแตกกัน เรียกว่า ส่อเสียด

(ข)พูดเพื่อจะโกงท่าน เรียกว่า หลอก

(ค)พูดเพื่อจะยกย่อง ท่านเรียกว่า ยก

(ง)พูดไว้แล้วไม่รับ เรียกว่า กลับคำ

2)อาการทนสาบาน ได้แก่ กิริยาที่เลี่ยงสัตย์ว่า จะพูดตามจริง แต่ใจไม่ตั้งจริงตามนั้น มีพูดปดเป็นลำดับ บริวาร เช่น เป็นพยานทนสาบานไว้ แล้วเบิกความเท็จ เป็นต้น

3)อาการทำเล่ห์กระเท่ห์ ได้แก่ กิริยาที่อวดอ้างความศักดิ์สิทธิ์อันไม่มีจริง เช่น อวดรู้วิชาคงกระพัน ฟันไม่เข้ายิงไม่ออก เป็นต้น ซึ่งเป็นอุบายหาลาภ

4)อาการมารยา ได้แก่ กิริยาที่แสดงให้เขาเห็นผิดจากที่เป็นจริง หรือลวงให้เข้าใจผิด เช่น เป็นคนทุศีล ก็ทำท่าทางให้เขาเห็นว่ามีศีล เจ็บน้อยก็ครวญครางมาก

5)อาการทำเลศ ได้แก่ พูดมุสาเล่นสำนวน เช่น เห็นคนวิ่งหนีเขามา เมื่อผู้ไล่มาถาม ไม่อยากจะให้เขาจับคนนั้นได้ แต่ไม่ต้องการให้ใครตราหน้าว่าเป็นคนพูดมุสา จึงย้ายไปยืนที่อื่น แล้วพูดว่าตั้งแต่มายืนที่นี่ ยังไม่เคยเห็นใครวิ่งมาเลย

6)อาการเสริมความ ได้แก่ พูดมุสาอาศัยมูลเดิม แต่ตัดความที่ไม่ประสงค์จะให้รู้ออกเสีย เรื่องมากพูดให้เหลือน้อย ปิดความบกพร่องของตนองค์ของมุสาวาท[27] มีองค์4คือเรื่องไม่จริง1จิตคิดจะกล่าวให้คลาดเคลื่อน 1ความพยายามเกิดจากจิตนั้น1ผู้อื่นรู้เรื่องนั้น1

2. เว้นจากปิสุณาวาจา คือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้ละวาจาอันส่อเสียดเว้นขาดจากวาจาส่อเสียดคือ ได้ฟังข้างนี้แล้วไม่นำไปบอกข้างโน้นเพื่อทำลายพวกข้างนี้หรือได้ฟังข้างโน้นแล้วไม่นำมาบอกข้างนี้เพื่อทำลายพวกข้างโน้นสมานพวกที่แตกกันให้ดีกันบ้างส่งเสริมพวกที่ดีกันให้สนิทสนมบ้างชอบใจพวกที่พร้อมเพรียงกันยินดีแล้วในพวกที่พร้อมเพรียงกันชื่นชมในพวกที่พร้อมเพรียงกันและกล่าววาจาอันทำให้พร้อมเพรียงกันลักษณะของการกล่าวคำส่อเสียด คือการที่ได้ฟังข้างนี้แล้วนำไปบอกข้างโน้นเพื่อทำลายพวกข้างนี้บ้างหรือฟังข้างโน้นแล้วนำไปบอกข้างนี้เพื่อทำลายพวกข้างโน้นบ้างยุพวกที่พร้อมเพรียงกันให้แตกกันไปบ้างส่งเสริมพวกที่กำลังแตกกันบ้างส่งเสริมพวกที่แตกกันแล้วบ้างชอบใจในคนที่แตกกันเป็นพวกยินดีในความแตกกันเป็นพวกชื่นชมในพวกที่แตกกันและกล่าววาจาที่ทำให้แตกกันเป็นพวกหรือคำพูดที่พูดออกไปเพื่อให้ตนเป็นที่รักของคนอื่นให้เขามองตนว่าเป็นคนดีแล้วยกย่องตนเอง สำหรับองค์ประกอบของปิสุณวาจา[28]มีองค์4คือคนอื่นที่พึงทำลาย1ความเป็นผู้มุ่งเพื่อทำลายด้วยประสงค์ว่า“คนพวกนี้จักเป็นผู้แตกต่างกัน ด้วยอุบายอย่างนี้” ดังนี้หรือความเป็นผู้ปรารถนาจะทำตนให้เป็นที่รักด้วยประสงค์ว่า “เราจักเป็นที่รัก จักเป็นผู้คุ้นเคยด้วยอุบายอย่างนี้” ดังนี้1ความพยายามอันเกิดจากจิตนั้น1ผู้อื่นรู้ความนั้น1

3. เว้นจากผรุสวาจา คือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้ละวาจาหยาบเว้นขาดจากวาจาหยาบกล่าววาจาที่ไม่มีโทษไพเราะหู ชวนให้รักจับใจเป็นของชาวเมืองคนส่วนมากรักใคร่ชอบใจลักษณะของผรุสวาจา คือ การที่บุคคลมีใจหยาบโดยส่วนเดียวแล้วเปล่งถ้อยคำที่เผ็ดร้อนแก่ผู้อื่นอันขัดใจผู้อื่นอันใกล้ต่อความโกรธไม่เป็นไปเพื่อความสงบจิตเป็นต้นที่ทำให้คนอื่นฟังแล้วเกิดปฏิฆะหรือความขุนเคืองในจิตใจนั้นเอง คำหยาบเหล่านี้ ท่านประสงค์เอาคำที่เปล่งออกมาจากบุคคลมีใจที่หยาบเท่านั้น ถึงแม้ว่าบางครั้งคำนั้นฟังดูเผิน ๆ แล้วจะไม่รู้สึกอะไรแต่ภายในใจของผู้พูดกับแฝงไปด้วยเจตนาที่หยาบเช่น ต้องการให้ คนใดคนหนึ่งตายเสีย แต่พูดว่า ทำให้เขาสบายที ดังนี้เป็นต้นย่อมได้ชื่อว่าคำหยาบแท้เพราะเจตนาหยาบ ตรงกันข้ามคำบางคำเป็นคำที่ฟังดูแล้วเหมือนหยาบแต่เจตนาของผู้ว่านั้นกลับไม่ได้คิดอย่างที่ว่ามา ดังเช่นคำที่ออกมาจากปากของมารดาที่ด่าว่าบุตรที่ไม่เชื่อฟัง หรืออาจารย์กล่าวว่าลูกศิษย์ที่ไม่ค่อยเชื่อฟังเป็นต้น คำประเภทนี้ก็ไม่ได้ชื่อว่าเป็นคำหยาบเพราะเจตนาไม่หยาบ สำหรับ องค์ของผรุสวาจา[29]มีองค์3คือคนอื่นที่พึงด่า1จิตโกรธ1การด่า1

4. เว้นจากสัมผัปปลาปะ คือข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้ละการพูดเพ้อเจ้อเว้นขาดจากการพูดเพ้อเจ้อพูดในเวลาที่ควรพูดตามความจริงพูดเรื่องที่เป็นประโยชน์พูดเรื่องที่เป็นธรรมพูดเรื่องที่เป็นวินัยและกล่าววาจามีหลักฐานมีที่อ้างได้มีที่สุดประกอบด้วยประโยชน์โดยกาลอันควรลักษณะของสัมผัปปลาปะ คือการพูดในเวลาไม่ควรพูดพูดเรื่องที่ไม่เป็นจริงพูดไม่เป็นประโยชน์พูดไม่เป็นธรรมพูดไม่เป็นวินัยกล่าววาจาไม่มีหลักฐานไม่มีที่อ้างไม่มีที่สุดไม่ประกอบด้วยประโยชน์โดยกาลไม่สมควร สำหรับองค์ของสัมผัปปลาปะ[30] มีองค์2คือความเป็นผู้มุ่งพูดเรื่องอันหาประโยชน์มิได้มีเรื่องภารตยุทธ์และเรื่องนำนางสีดามาเป็นต้นเป็นเบื้องหน้า1การพูดเรื่องเห็นปานนั้น1

กล่าวได้ว่า พฤติกรรมการแสดงออกทางวาจา เรียกว่า วจีจริต หมายถึง การสื่อสารทางวาจา มีการพูด การเชื้อเชิญ การปราศรัย การสนทนา และการสอบถาม เป็นต้น วาจา คือ คำพูดของมนุษย์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันเพื่อความเข้าใจต่อกันพร้อมกันนั้น วาจาที่เปล่งออกมาต้องประกอบด้วยวาจาสุภาษิต พระพุทธองค์ตรัสว่า

“ดอกไม้ มีสี แต่ไม่มีกลิ่นหอม แม้ฉันใด วาจาสุภาษิต ก็ฉันนั้นย่อมไม่มีผล แก่ผู้ไม่ทำ ส่วนดอกไม้อันงาม มีสีพร้อมด้วยกลิ่นหอม แม้ฉันใด วาจาสุภาษิต ก็ฉันนั้น ย่อมมีผลแก่ผู้ทำดีอยู่.”[31]

การสื่อด้วยวาจาที่ดีและตรึงใจแก่ผู้ฟังนั้นจะต้องประกอบด้วยวาจาสุภาษิตแก่ผู้ทำดีอยู่ การสื่อด้วยวาจาหรือภาษาพูดของมนุษย์เป็นสิ่งที่เข้าได้โดยไม่ยากนักเพราะอยู่ในสังคมเดียวกัน กลุ่มเดียวกัน จึงทำให้เข้าใจคำพูด และแปลความหมายได้ง่าย แต่การพูดนั้นจะต้องตั้งอยู่ในสถานการณ์ด้วย บางครั้งพูดมากไปคนอื่นก็รำคาญ คนอื่นเขาก็เบื่อพระพุทธองค์ตรัสว่า

“บุคคลไม่ชื่อว่าเป็นบัณฑิต เพราะเหตุเพียงพูดมาก ส่วนผู้มีความเกษม ไม่มีเวร ไม่มีภัยเรากล่าวว่า เป็นบัณฑิต.”[32]

การพูดมากก็ผิดมาก พูดน้อยก็ผิดน้อย ไม่พูดเลย ก็ไม่ผิดเลยจากการพูด ฉะนั้นคฤหัสถ์ผู้โต้ตอบจึงควรพูดคำที่บรรพชิตชอบใจ พอใจ และบันเทิงเท่านั้น พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนว่า

“บุคคลพึงกล่าวคำเป็นที่พอใจเท่านั้น ไม่พึงกล่าวคำไม่เป็นที่พอใจในกาลไหน ๆ เพราะเมื่อพราหมณ์กล่าวคำเป็นที่พอใจอยู่ โคนนันทวิลาศเข็นภาระอันหนักไปได้ ยังพราหมณ์นั้นให้ได้ทรัพย์ และพราหมณ์นั้นได้เป็นผู้มีใจเบิกบาน เพราะการได้ทรัพย์นั้น.”[33]

“เธออย่าไปได้กล่าวคำหยาบกะใคร ๆ ชนเหล่าใดอื่นถูกเธอว่าแล้ว จะพึงตอบเธอ เพราะการกล่าวแข่งขันกันให้เกิดทุกข์ อาชญาตอบพึงถูกต้องเธอ ผิว่าอาจยังตนให้หวั่นไหวได้ ดังกังสดาลที่ถูกกำจัดแล้วไซร้ เธอนั่นย่อมเป็นผู้บรรลุพระนิพพาน การกล่าวแข่งขันกัน ย่อมไม่มีแก่เธอ.”[34]

การกล่าวแข่งขันกันเป็นการเพิ่มเชื้อไฟให้ต่างฝ่ายพยายามที่จะเอาชนะกัน คำพูดทีโต้ตอบกันก็คงจะยังไม่หยุดถึงแม้ว่าบรรพชิตจะพูดคำหยาบ คำเท็จ คำเพ้อเจ้อ และคำส่อเสียดออกมาประการใดก็ตาม คฤหัสถ์เมื่อได้ฟังแล้วก็ไม่ควรที่จะทำโต้ตอบด้วยคำหยาบตอบและไม่ควรเอาคำพูดนั้นมากกระทำไว้ในใจด้วย พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนว่า

“บุคคลไม่ควรทำคำแสยงขนของชนเหล่าอื่นไว้ในใจ ไม่ควรแลกิจที่ทำแล้วและยังไม่ได้ทำของคนเหล่าอื่น พึงพิจารณากิจที่ทำแล้ว และยังไม่ได้ทำของเท่านั้น[35]

คำพูดจึงเป็นพฤติกรรมการแสดงออกที่คฤหัสถ์มีความปกติทางกายสามารถจะได้ยินและเข้าใจต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นถึงแม้ว่าบรรพชิตจะพูดอย่างใด ๆ ออกมาซึ่งนำมาความไม่พอใจ ไม่ชอบใจต่อเรา เราก็ไม่ควรที่จะกล่าวคำอันเป็นที่ไม่พอใจหรือหยุดพูดเสีย เพื่อให้เหตุการณ์นั้นสงบไปก่อน แม้บางครั้งจะเสแสร้งให้บรรพชิตดูก็ตามแต่ถ้าสามารถจะนำมาซึ่งความสงบได้ก็ถือว่าคฤหัสถ์นั้นกระทำถูกต้องแล้ว อีกประการหนึ่งเมื่อคฤหัสถ์โต้ตอบด้วยการไม่พูดด้วย หรือไม่กล่าวแข่งขันด้วยเป็นการหยุดโทษที่จะเกิดขึ้นเพราะอาศัยหลักเมตตาในการพยามชี้ความพลาดของบรรพชิต ดังนั้น การที่จะกล่าวชี้ความผิดด้วยคำพูดตรง ๆ อาจกระทำไม่ได้ในขณะนั้น แต่เมื่อบรรพชิตรู้สึกตัวหรือสำนึกขึ้นมาคฤหัสถ์ก็ควรที่จะไปพูดถึงโทษที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเป็นเสมือนผู้บอกขุมทรัพย์ให้กับบรรพชิตว่าสิ่งใดผิด สิ่งใดถูก สิ่งใดมีประโยชน์ไม่มีประโยชน์ ซึ่งพระพุทธองค์ตรัสว่า

“บุคคลพึงเห็นผู้มีปัญญา ซึ่งเป็นผู้กล่าวนิคคหะ ชี้โทษ ว่าเป็นเสมือนผู้บอกขุมทรัพย์ให้ พึงคบผู้มีปัญญาเช่นนั้น ซึ่งเป็นบัณฑิต เพราะว่า เมื่อคบท่านผู้เช่นนั้น มีแต่คุณอย่างประเสริฐไม่มีโทษที่ลามก”[36]

การกล่าวชี้โทษใช่ว่าเป็นสิ่งที่คฤหัสถ์จะพูด จะกล่าว จะสอนจะห้ามบรรพชิตไม่ได้ แต่คฤหัสถ์ผู้เป็นบัณฑิตสมควรอย่างยิ่งที่จะพูดชี้โทษต่อบรรพชิตซึ่งอาศัยหลักเมตตา เมื่อคฤหัสถ์พูดชี้โทษ กล่าวโทษที่เกิดขึ้นแล้ว ก็สมควรเป็นผู้ได้รับความรักตอบแทน ดัง พระคาถาทรงตรัสว่า

“ผู้ใดกล่าวสอน พึงสอน และห้ามจากธรรมของอสัตบุรุษ ผู้นั้นแล ย่อมเป็นที่รักของสัตบุรุษทั้งหลาย ไม่เป็นที่รักของพวกอสัตบุรุษ.”[37]

การพูดโต้ตอบด้วยหลักการเมตตา คือ ความไม่โกรธซึ่งจะเห็นได้ชัดว่า เป็นสัญลักษณ์ คือ บรรพชิตสามารถที่จะเข้าใจได้ในอาการและความต้องการที่แท้จริง การพูดมาก พูดน้อย หรือไม่พูดต่อกันเลย ต้องประกอบด้วยความเมตตาเสมอ

ตารางภาพที่ 1.2.4 : แสดงการประพฤติชอบด้วยวาจา

ลำดับ

ชื่อนักวิชาการ

การประพฤติชอบด้วยวาจา

1

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, (ออนไลน์)

การแสดงออกด้วยเจตนาบิดเบือนความจริง ให้คนหลงเชื่อ

2

พระสิริมังคลาจารย์, (2538)

ความพยายามด้วยคำพูดเพื่อทำลายผู้อื่นที่มีเจตนาประกอบและผู้อื่นรู้ความหมาย

1.2.5 การประพฤติชอบด้วยใจ[38]

พระพุทธศาสนาพยายามให้ความสำคัญแก่จิตใจมาอันดับแรกสุดเพราะเมื่อบุคคลมีจิตใจดีแล้ว ไม่ว่าจะทำ จะพูด ล้วนแล้วแต่เป็นไปในทิศทางที่ดีทั้งสิ้น พระพุทธโฆษาจารย์ จึงนำเสนอเรื่องผู้จิตใจดี เป็นพระคาถาแรก ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบท ภาค 1 เรื่องที่ 1 จักขุปาลเถระ พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ว่า

“ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จแล้วด้วยใจ ถ้าบุคคลมีใจร้ายแล้ว พูดอยู่ก็ตาม ทำอยู่ก็ตาม ทุกข์ย่อมไปตามเขา เพราะเหตุนั้น ดุจล้อหมุนไปตามรอยเท้าโค ผู้นำแอกไปอยู่ฉะนั้น.”

มีอรรถาธิบายว่า ถ้าบุคคลมีใจร้ายแล้ว เขาเมื่อพูด ย่อมพูดเฉพาะวจีทุจริต 4 อย่าง เมื่อทำ ย่อมเฉพาะกายทุจริต 3 อย่าง เมื่อไม่พูด เมื่อไม่ทำ เพราะความที่ตัวเป็นผู้มีใจอันโทษมีอภิชฌา เป็นต้น ประทุษร้ายแล้วนั้น ย่อมทำมโนทุจริต 3 อย่างให้เต็ม อกุศลกรรมบถ 10 อย่างของเขา ย่อมถึงความเต็มที่ ทุกข์ย่อมตามบุคคลนั้นไป เพราะทุจริต 3 อย่างนั้น ทั้งทุกข์ทางกาย และทุกข์ทางจิตใจเพราะอานุภาพแห่งทุจริตทั้งหมดนั่นเอง[39]พระธรรมกิตติวงศ์( ทองดี สุรเตโช ป.ธ.9) กล่าวอธิบายเพิ่มเติมว่า ใจมนุษย์เป็นสิ่งมหัศจรรย์ เป็นศูนย์รวมความรู้สึก ความจำ ความนึกคิด ความรู้ต่าง ๆ เป็นที่รับความสุขและความทุกข์ทั้งมวลและเป็นบ่อเกิดแห่งการกระทำทุกประการของเจ้าของจิตใจ ดังนั้น ธรรมทั้งหลาย คือ ความรู้สึกนึกคิดและการกระทำของมนุษย์ จึงได้ชื่อว่า มีใจเป็นประธาน มีใจเป็นใหญ่ และเกิดขึ้นมาจากใจทั้งสิ้น เมื่อใจถูกปกคลุมด้วยกิเลสนานาชนิด ได้แก่ โลภะ โมหะ และโทสะ เป็นต้น ใจจะคิดแต่เรื่องอยากมี อยากได้ คิดแต่จะให้ได้ คิดแต่จะไม่ให้เสีย หรือเมื่อถูกโทสะครอบงำ เมื่อนั้นก็คิดแต่จะทำร้ายด้วยความอาฆาตพยาบาททำให้เกิดความไม่พอใจ ทำให้เกิดความโกรธ [40]

1. อนภิชฌา คือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้ไม่มีความโลภมากไม่เพ่งเล็งทรัพย์อันเป็นอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจของผู้อื่นว่า “ขอของผู้อื่นพึงเป็นของเราเถิด” เป็นต้นลักษณะของอภิชฌา คือ ภาวะที่เป็นไปโดยความเป็นผู้มุ่งหน้าต่อภัณฑะของผู้อื่นแล้วน้อมไปในภัณฑะนั้น ได้แก่อาการที่บุคคลเห็นภัณฑะคือสิงของ ๆ คนอื่น แล้วมีความเพ็งเล็งต้องการน้อมสิ่งของนั้นมาเป็นของตน คือมีความคิดอยากได้ของคนอื่นเอามาเป็นของตัวเอง เช่น คิดว่า “ไฉนหนอ ของสิ่งนี้จะพึงเป็นของ ๆ เรา” เป็นต้นซึ่งมีองค์ของอภิชฌา[41]มีองค์2คือภัณฑะคือสิ่งของของผู้อื่น1การน้อมมาเพื่อตนด้วยความคิด1

2. อพยาบาท คือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้มีจิตไม่พยาบาทมีความดำริในใจไม่ชั่วช้าว่า “ขอสัตว์เหล่านี้จงเป็นผู้ไม่มีเวรไม่มีความเบียดเบียนกันไม่มีทุกข์มีแต่สุขรักษาตนเถิด” เป็นต้นลักษณะของพยาบาท คือ ความคิดที่ต้องการให้ผู้อื่นได้รับความทุกข์ ให้ได้รับความพินาศเสียหาย ไม่ต้องการให้เขาได้รับความสุข มีความดำริในใจอันชั่วช้าว่าขอสัตว์เหล่านี้จงถูกฆ่าบ้างจงถูกทำลายบ้างจงขาดสูญบ้างอย่าได้มีแล้วบ้าง เป็นต้น ซึ่งมีองค์ของพยาบาท[42]มีองค์2คือสัตว์อื่น1ความคิดความพินาศเพื่อสัตว์นั้น1

3. สัมมาทิฏฐิ คือ ข้อที่บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้มีความเห็นชอบคือ มีความเห็นไม่วิปริตว่าผลแห่งทานที่ให้แล้วมีอยู่ผลแห่งการการบูชามีอยู่ผลแห่งการเซ่นสรวงมีอยู่ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีและทำชั่วมีอยู่โลกนี้มีอยู่ โลกหน้ามีอยู่มารดามีอยู่บิดามีอยู่สัตว์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาติกะมีอยู่สมณะและพราหมณ์ทั้งหลายผู้ดำเนินชอบปฏิบัติชอบผู้ทำโลกนี้และโลกหน้าให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ได้มีอยู่ในโลกนี้ลักษณะของมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นวิปริตว่าผลแห่งทานที่ให้แล้วไม่มีผลแห่งการบูชาไม่มีผลแห่งการเซ่นสรวงไม่มีผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีและทำชั่วไม่มีโลกนี้ไม่มีโลกหน้าไม่มีมารดาไม่มีบิดาไม่มีสัตว์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาติกะไม่มีสมณะและพราหมณ์ทั้งหลายผู้ดำเนินชอบปฏิบัติชอบผู้ทำโลกนี้และโลกหน้าให้แจ้งชัดด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วสั่งสอนให้ผู้อื่นรู้ไม่มีอยู่ในโลก ซึ่งมีองค์ของมิจฉาทิฏฐิ[43]มีองค์3คือความที่วัตถุวิปริตจากอาการที่มิจฉาทิฏฐิถือเอา1ความปรากฏแห่งวัตถุนั้นด้วยไม่เป็นโดยประการที่มิจฉาทิฏฐิถือเอา1

กล่าวได้ว่า การประพฤติในสุจริต 3 หรือกุศลกรรมบถ 10[44]ประการ ได้แก่ การประพฤติทางกายคือ1.ไม่ตัดรอนชีวิต ใฝ่ใจทำประโยชน์แก่ทุกคนทุกชีวิต2.ไม่ถือเอาทรัพย์สินที่เขามิได้ให้ ไม่ว่าของผู้ใดที่ใด3. ไม่ประพฤติผิดทางเพศ ไม่ละเมิดต่อสามีภรรยาผู้อื่นการประพฤติทางวาจา ได้แก่1.ไม่กล่าวเท็จ ซื่อตรงพูดตามที่เป็นจริง 2.ไม่พูดยุแหย่ส่อเสียด แต่กล่าวถ้อยคำสมานสามัคคี 3.ไม่พูดคำหยาบ แต่ให้กล่าวคำสุภาพ ไพเราะ 4. ไม่พูดเพ้อเจ้อ ให้พูดแต่พอดี มีหลักฐาน ถูกกาล เป็นประโยชน์และการประพฤติทางใจคือ1. ไม่ละโมบจ้องจะเอาของของใคร (ใจพร้อมจะเผื่อแผ่) 2. ไม่คิดร้ายใคร ให้มีใจเมตตาปรารถนาให้ทุกชีวิตอยู่ดีมีสุข และ3. มีสัมมาทิฏฐิ เข้าใจหลักกรรม เห็นชอบตามทำนองคลองธรรม[45] ฉะนั้น พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า “เมื่อบุคคลทำกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริตที่เรากล่าวว่าควรทำโดยส่วนเดียวบุคคลนั้นจะได้รับประโยชน์ดังต่อไปนี้ คือ (1) แม้ตนก็ติเตียนตนเองไม่ได้ (2) ผู้รู้ใคร่ครวญแล้วย่อมสรรเสริญ (3) กิตติศัพท์อันงามย่อมขจรไป (4) ไม่หลงลืมสติตาย (5) หลังจากตายแล้วจะไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ เมื่อบุคคลทำกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริตที่เรากล่าวว่าควรทำโดยส่วนเดียวบุคคลนั้นจะได้รับประโยชน์นี้”[46]

ตารางภาพที่ 1.2.6 : แสดงการประพฤติชอบด้วยใจ

ลำดับ

ชื่อนักวิชาการ

การประพฤติชอบด้วยใจ

1

พระธรรมกิตติวงศ์( ทองดี สุรเตโช ป.ธ.9), (2545)

ใจมนุษย์เป็นสิ่งมหัศจรรย์ เป็นศูนย์รวมความรู้สึก ความจำ ความนึกคิด ความรู้ต่าง ๆ

2

พระสิริมังคลาจารย์, (2538)

ความคิดที่อยากจะไม่เอาสิ่งใดๆไม่มีความโกรธ และเห็นชอบตามจริง

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), (2542)

1.ใจพร้อมจะเผื่อแผ่

2. ไม่คิดร้ายใคร ให้มีใจเมตตาปรารถนาให้ทุกชีวิตอยู่ดีมีสุข

3. เข้าใจหลักกรรม เห็นชอบตามทำนองคลองธรรม

10. เอกสารอ้างอิงของโครงการวิจัย

พระปลัดเทียน พลวุฑโฒคำพงษ์ วิทยานิพนธ์ เรื่อง การส่งเสริมจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคเหนือตอนบน,วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต,สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยพุทธศักราช 2558. หน้า 27 – 40.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์, หน้า 454, อ้างแล้ว.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), อ้างแล้ว,หน้า 21.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, หน้า 235.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต),สยามสามไตร,(กรุงเทพมหานคร : พิมพ์สวย,2552),หน้า 209-210.

ขุ.ธ.อ.(ไทย) 5/10/100.

พระธรรมกิตติวงศ์, (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.9ราชบัณฑิต),ธรรมสารทีปนี,(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง,2544), หน้า 25-26.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,เบญจศีล เบญจธรรม,[ออนไลน์], แหล่งข้อมูล : http://www.dharma-gateway.com/dhamma/dhamma-sila-00-02.htm.(1 เมษายน2557).

พระสิริมังคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม 2, หน้า 97.

www.gotoknow.org › ... › สมุด › พระครูนิวิฐธุราทร

พระสิริมังคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม 2, หน้า 115.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต),สยามสามไตร,(กรุงเทพมหานคร : พิมพ์สวย,2552),หน้า 209-210.

11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

11.1 ได้ทราบถึงจิตพฤติกรรมประชาธิปไตยในแต่ละช่วงชีวิตของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

11.2 ได้ทราบถึงจิตพฤติกรรมการเป็นพลที่ดีในสังคมประชาธิปไตยของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

11.3ได้ทราบถึงจิตพฤติกรรมการนำเอาหลักประชาธิปไตยมาใช้ในชีวิตประจำวันของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

การนำไปใช้ประโยชน์ในด้าน

ด้านวิชาการ

ด้านนโยบาย

ด้านเศรษฐกิจ/พาณิชย์/อุตสาหกรรม

ด้านสังคมและชุมชน

หน่วยงานที่นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

12. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย

……ในช่วงไตรมาสที่ 3-4 (ระยะเวลา 6 เดือน) ตามตารางแผนการดำเนินงาน จะได้นำองค์ความรู้ที่เรียบเรียง มาจัดสัมมนาและทำกิจกรรมถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมาย

13. วิธีการดำเนินการวิจัย

13.1 ตั้งคณะทำงาน ระดมความคิดเห็นปรึกษาหารือ การวางกรอบในการดำเนินการวิจัย ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

13.2 ศึกษาค้นคว้าเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาเป็นกรอบแนวคิดในการออกแบบงานวิจัยให้ครอบคลุมทุกประเด็นที่ต้องการศึกษา

13.3ปฏิบัติการภาคสนาม โดยการจัดกิจกรรมการศึกษาตามแนวพระพุทธศาสนาสู่กลุ่มเป้าหมาย

13.4 เก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล และรายงานผล

14. ระยะเวลาการวิจัย

ระยะเวลาโครงการ 1 ปี 0เดือน

วันที่เริ่มต้น1 ตุลาคม 2560วันที่สิ้นสุด30 กันยายน 2561

สถานที่ทำการวิจัย

ในประเทศ/

ต่างประเทศ

ชื่อประเทศ/จังหวัด

พื้นที่ที่ทำวิจัย

ชื่อสถานที่

ในประเทศ

พะเยา

ห้องปฏิบัติการ

ในประเทศ

พะเยา

ภาคสนาม

แผนการดำเนินงานวิจัย

ปี

กิจกรรม

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

2561

1.การจัดประชุมคณะทำงาน คณะที่ปรึกษาเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการทำงานให้สอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมายของโครงการ

X

X

2561

2.การจัดประชุมคณะทำงานคณะผู้ติดตามและประเมินผลภายใน เพื่อทำความเข้าใจและหารือทิศทางการดำเนินงานเชิงยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการ

X

X

2561

3.ดำเนินโครงการติดตามและประเมินผล

X

X

X

X

X

X

X

2561

4.จัดสัมมนาเชิงวิชาการ

X

X

2561

5.ค่าดำเนินการจัดพิมพ์ผลงาน หรือหนังสือชุดความรู้ขอโครงการ

X

X

15. ปัจจัยที่เอื้อต่อการวิจัย (อุปกรณ์การวิจัย โครงสร้างพื้นฐาน ฯลฯ) ระบุเฉพาะปัจจัยที่ต้องการเพิ่มเติม)

ประเภท

ชื่อครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง

สถานภาพในหน่วยงาน

รายละเอียด

เหตุผลและความจำเป็น

ประมาณการราคา

ครุภัณฑ์

มี

สิ่งก่อสร้าง

ไม่มี

16. งบประมาณของโครงการวิจัย

ปี

ประเภทงบประมาณ

รายละเอียด

จำนวน (บาท)

2561

งบบุคลากร

2561

งบดำเนินการ : ค่าตอบแทน

ค่าตอบแทนหัวหน้าโครงการวิจัย (1 คน x 10 เดือน x 3,500 บาท = 35,000 บาท)

-ค่าตอบแทนนักวิจัย (1 คน x 10 เดือน X 2,000 บาท = 20,000 บาท)

55,000

2561

งบดำเนินการ : ค่าตอบแทน

-จำนวน 3 รูป/คน 10 วัน (วันทำการปกติ) (100 บาท x 3 รูป/คน x 10 วัน =3,000 บาท)

3,000

2561

งบดำเนินการ : ค่าตอบแทน

(7 รูป/คน x 2 วัน x 100X บาท = 1,400 บาท)

(2 วัน x 1,800 บาท = 3,600 บาท)

5,000

2561

งบดำเนินการ : ค่าใช้สอย

งบค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม สัมมนา จำนวน 2 ครั้ง ต่อปี

ค่าวิทยากร (จำนวน 2 รูป/คน คนละ 200 บาท = 400 บาท)

-ค่าอาหาร (จำนวน 450 รูป/คน x 2 วัน x 25 บาท = 22,500 บาท)

-ค่าอาหารว่าง (จำนวน 450 รูป/คน x 2 วัน x 5 บาท = 4,500 บาท)

-ค่าจัดทำเอกสารประกอบ (จำนวน 450 เล่ม x เล่มละ 10 บาท = 450 บาท)

27,850

2561

งบดำเนินการ : ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน

-อุดหนุนการบริหารจัดการ ศูนย์วิจัยพุทธศาสตร์ผญ๋าพยาว วิทยาเขตพะเยา

5,000

รวม

95,850

2562

งบดำเนินการ : ค่าวัสดุ

-10 เล่ม x 200 บาท = 2,000 บาท)

2,000

2562

งบดำเนินการ : ค่าวัสดุ

ค่ากระดาษ ฯลฯ 1,000 บาท

-ค่าเอกสาร แผ่นพับ 500 บาท

-ค่าหมึกพิมพ์ 1,000 บาท

-ค่าวัสดุอื่นๆ 650 บาท

2,150

รวม

4,150

รวมตลอดโครงการ

100,000

17. ผลสำเร็จ

ปี

ผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับ

ประเภท

2561

- ผลสำเร็จเบื้องต้น จะได้แนวทางในการพัฒนาจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมประชาธิปไตย ด้านนโยบายของรัฐตามแนวพระพุทธศาสนา โดยผ่านกระบวนการของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเครือข่ายทางสังคม

Primary Result

2562

- ผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ ได้รูปแบบการพัฒนาจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมประชาธิปไตย ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

Intermediate Result

18. โครงการวิจัยต่อเนื่อง (คำรับรองจากหัวหน้าโครงการวิจัยว่าโครงการวิจัยได้รับการจัดสรรงบประมาณจริงในปีงบประมาณที่ผ่านมา)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

19. คำชี้แจงอื่น ๆ (ถ้ามี)

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการสร้างงานโดยอาศัยกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาจิตพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมประชาธิปไตย ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

20. ลงลายมือชื่อ หัวหน้าโครงการวิจัย พร้อมวัน เดือน ปี

ลงชื่อ.................................................

( ผู้ช่วยศาสตราจารย์คนอง วังฝายแก้ว)

หัวหน้าโครงการวิจัย

วันที่.......... เดือน ....................... พ.ศ. ..................



[1]www.romyenchurch.org/messages/?p=p_45&sName=-3614;

[2]https://storylog.co/story/560b5c1f407271e72e1d7c8d

[3]วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีhttps://th.wikipedia.org/wiki/ประชาธิปไตย

[4]www.romyenchurch.org/messages/?p=p_45&sName=-3614;

[5]https://storylog.co/story/560b5c1f407271e72e1d7c8d

[6]วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีhttps://th.wikipedia.org/wiki/ประชาธิปไตย

[7]https://www.gotoknow.org/posts/438651

[8]ม.มู.(ไทย) 12/439/472.

[9]องฺ.ทสก.(ไทย) 24/176/319.

[10]องฺ.ทสก.(ไทย) 24/145-148/291-293.

[11]ม.มูล.(ไทย) 12/439/472.

[12]ม.มู. (ไทย) 12/441/476.

[13]พระสิริมังคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม2, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิพม์มหามกุฏราชวิทยาลัย,2538), หน้า 94.

[14]ขุ.ธ.อ.(ไทย) 5/10/100.

[15]พระธรรมกิตติวงศ์, (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต),ธรรมสารทีปนี,(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง,2544), หน้า 25-26.

[16]สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,เบญจศีล เบญจธรรม,[ออนไลน์], แหล่งข้อมูล : http://www.dharma-gateway.com/dhamma/dhamma-sila-00-02.htm.(11 เมษายน2557).

[17]พระสิริมังคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม๒, หน้า 97.

[18]ขุ.ธ.อ(ไทย) 5/10/68.

[19]ขุ.ธ.อ(ไทย) 5/10/33.

[20]สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,เบญจศีล เบญจธรรม,อ้างแล้ว.

[21]พระสิริมังคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม๒, หน้า 99.

[22]สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, เบญจศีลและเบญจธรรม, หน้า 8.

[23]เรื่องเดียวกัน.

[24]พระสิริมังคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม๒, หน้า 101.

[25]ม.มู. (ไทย) 12/441/476.

[26]สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, เบญจศีล เบญจธรรม, อ้างแล้ว.

[27]พระสิริมังคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม๒, หน้า 107.

[28]เรื่องเดียวกัน, หน้า 108.

[29]เรื่องเดียวกัน, หน้า 111.

[30]เรื่องเดียวกัน, หน้า 112.

[31]ขุ.ธ.อ (ไทย) 3/4/68.

[32]ขุ.ธ.อ (ไทย) 7/19/68.

[33]ขุ.ธ.อ (ไทย) 6/14/123

[34]ขุ.ธ.อ (ไทย) 5/10/82.

[35]ขุ.ธ.อ (ไทย) 3/4/62.

[36]ขุ.ธ.อ (ไทย) 4/6/5.

[37]ขุ.ธ.อ (ไทย) 5/6/9.

[38]ม.มู. (ไทย) 12/441/477.

[39]ขุ.ธ.อ (ไทย) 1/1/33.

[40]พระธรรมกิตติวงศ์, (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต),ธรรมสารทีปนี, หน้า 1-2.

[41]พระสิริมังคลาจารย์,มังคลัตถทีปนีแปลเล่ม๒, หน้า 115.

[42]เรื่องเดียวกัน, หน้า 116.

[43]เรื่องเดียวกัน, หน้า 117.

[44]องฺ.ทุก. (ไทย) 20/14/154.

[45]พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต),สยามสามไตร,(กรุงเทพมหานคร : พิมพ์สวย,2552),หน้า 209-210.

[46]องฺ.ทุก.(ไทย) 20/18/31.

หมายเลขบันทึก: 616241เขียนเมื่อ 29 กันยายน 2016 10:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 กันยายน 2016 10:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท