ประเทศไทย: วัฒนธรรมการทรมานภายใต้ระบบทหาร ตอนที่ 1


รายงานของ Amnesty International มีใจความว่า ตั้งแต่การยึดอำนาจปี 2014 (2557) เจ้าหน้าที่ทางการทหารในประเทศไทยนำวัฒนธรรมการทรมาน และการรักษาโรคร้ายอื่นๆเพื่อใช้ตลอดประเทศ เช่น ทหาร และตำรวจมุ่งไปหาผู้ก่อความไม่สงบที่สงสัย, ผู้เห็นต่างทางการเมือง, และปัจเจกบุคคลที่ด้อยโอกาสในสังคม

ในรายงานกล่าวถึง “จงทำให้เขาพูดได้ในวันพรุ่งนี้” : การทรมาน และการรักษาโรคร้ายอื่นๆในประเทศไทย มีกรณีศึกษาถึง 74 อย่างในเรื่องการทรมาน และการรักษาโรคร้าย ที่ทำโดยทหาร และตำรวจ นี่รวมถึงการตี, การทำให้หายใจไม่ออก โดยการใช้ถุงพลาสติก, บีบคอโดยมือหรือเชือก, การสำลักน้ำ (waterboarding), การช็อตด้วยไฟฟ้าที่อวัยวะสืบพันธุ์, และรูปแบบอื่นๆของการทำให้ขายหน้าหรืออัปยศอดสู

Rafendi Djamin ที่ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ Amnesty International ภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแปซิฟิก กล่าวว่า “ประเทศไทยอาจอ้างว่าตนเองเลิกทรมานแล้ว แต่การกระทำย่อมส่งเสียงดังกว่าการพูด การให้อำนาจโดยกฎหมายที่ตนเองออกมา ผู้ปกครองที่เป็นทหารนำวัฒนธรรมการทรมานมาใช้ทั้งประเทศ ในขณะที่ไม่มีความโปร่งใส หรือการอธิบายใดๆแก่ผู้กระทำผิด และไม่มีความยุติธรรมสำหรับเหยื่อ”

กฎอัยการอัยการศึก และพระราชกฤษฎีกาหลังการยึดอำนาจทำให้ทหารมีสิทธิต่างๆในการกักกันที่ขาดการติดต่อจากผู้อื่นกับปัจเจกบุคคล ในที่ที่ไม่ได้ระบุเป็นเวลาเกือบ 1 สัปดาห์ ระหว่างช่วงเวลาดังกล่าว เหยื่อหลายคนได้สัมภาษณ์กับ Amnesty ว่าพวกเขาถูกทรมาน และการรักษาโรคร้ายในรูปแบบอื่นๆ

กำลังของตำรวจได้ใช้การทรมานและการรักษาโรคร้ายในรูปแบบอื่นๆต่อประชาชนจำนวนมาก เช่น ผู้อพยพ, คนที่สงสัยว่าติดยาเสพติด, สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์, และอื่นๆ ทาง Amnesty ได้รับรายงานว่าการกระทำผิดเหล่านี้มีมากขึ้นหลังการยึดอำนาจ

ในสภาพแวดล้อมที่เจ้าหน้าที่ที่มีจำนวนน้อยมากๆ และผู้กระทำงานด้านมนุษยชน ที่ถูกหมิ่นประมาทเรื่องอาชญากรรมจึงแทบไม่มีโอกาสในการแถลงเรื่องการทรมานและการรักษาโรคร้ายในรูปแบบอื่นๆต่อสาธารณะ รายงานนี้ได้มาจากผู้รอดชีวิต, ครอบครัว, และคนที่เอ่ยชื่อไม่ได้ ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย

แปลและเรียบเรียงจาก

Amnesty International. Thailand: A culture of torture under the military

http://prachatai.org/english/node/6598

หมายเลขบันทึก: 616239เขียนเมื่อ 29 กันยายน 2016 09:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 กันยายน 2016 09:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท