การเมืองเรื่องผลประโยชน์


อยู่อเมริกา ไม่เคยจะสนใจการเมืองไทยมาเป็นเวลานาน เพราะเมื่อก่อนหาข้อมูลอะไรก็ไม่ได้ แต่เมื่อสามสี่เดือนก่อน พบกับพี่ชายมาเรียนต่อเมืองนอก พี่เขาถามว่าคนเมืองนอกน่าจะรู้ดีกว่าคนอยู่เมืองไทย เพราะข้อมูลไม่มีการปกปิด หนังต้องห้ามจากเมืองไทย (ประเทศนี้ไม่มีหนังห้ามฉาย) ก็ได้ดูมานานแล้วตั้งแต่ลูกยังไม่เกิด

การที่จะเชื่อใครสักคนนั้นพี่ชายบอกว่า เราต้องอยู่ด้วยกันนานๆ แล้วให้สังเกตการกระทำ ที่พูดกับที่ทำเหมือนกันหรือเปล่า ไม่ใช่พูดอย่าง ทำอย่าง หลังจากอยู่ด้วยกันพอสมควรแล้ว ต้องใช้สติปัญญาและข้อมูลที่เรามีอยู่เป็นการตัดสิน อันนี้เป็นของยาก เพราะสติปัญญาและข้องมูลที่ได้มา ไม่ได้มาทั้งหมด ผมเคยไม่ชอบประธานาธิบดีคลินตัน เพราะท่านโกหกเรื่อง Miss Lewinsky เพื่อนชาวอเมริกันเตือนผมว่า อย่าเอาเรื่องเดียวเรื่องส่วนตัว มาบังเรื่องดีๆที่ประธานาธิบดีคลินตันทำมา ผมไม่เห็นด้วย เถียงหัวชนฝา 


เวลาผ่านไปหลายปี คลินตันไม่ได้เป็นประธานาธิบดีแล้ว แต่คนอเมริกาส่วนใหญ่ก็ยังชอบเขาอยู่ ผมกลับกลายมาชื่นชอบ นโยบายบางอย่างก็ได้มีส่วนดีต่อตัวเอง ส่วนดีต่อส่วนรวม

นายกเมืองไทย มีใครสักกี่คน พอพ้นจากตำแหน่ง หรือสิ้นชีวิตลง มีใครเสียดายมั้ง มีแต่จะสาปแช่ง


ปัญหาของเมืองไทยคือ คนทำความผิด ผิดกฏหมายแล้วไม่ถูกลงโทษ ไม่เหมือนที่อเมริกา สว โกงเงินค่าแสตมป์ ห้าหมื่นเหรียญ์ ติดคุกไปสองปี ไม่ได้ไปผุดไปเกิดในวงการเมืองอีก ผู้ว่าราชการจังหวัดอิลลินอยจะขายตำแหน่ง แค่คิดว่าจะขายตำแหน่ง ผิดแล้ว ตอนนี้ก็ยังติดคุกอยู่
การเมืองอเมริกามันก็โกง แต่โอกาสติดคุกก็มีมากครับ อย่าให้จับได้


เมืองไทยนักการเมืองเขี้ยวลากดิน โกงแบบจับไม่ได้ หรือจับได้ก็ไม่มีพยานหลักฐาน บางที่ยังศาลยังไม่ตัดสินเลย รู้ผลก่อนเสียแล้ว หนีออกนอกประเทศก็มีอยู่มาก  เป็นไปได้อย่างไร


ดีเหมือนกันที่ได้มีชีวิตอยู่ที่นี้อย่างธรรมดาอยู่ที่นี่

 

ให้ดูตั้งแต่จอมพลถนอมกิติขจร  (ทรราชย์คนแรก ?)  คุณจำสิ่งที่ดีที่สุดของแต่ละนายกรัฐมนตรีได้มั้ย

มีอะไรเป็นสิ่งเป็นอัน ที่สร้างความเจริญให้กับบ้านเมืองบ้าง จะสร้างอนุสาวรีย์ให้ชนชั้นหลังได้ชื่นชมมีบ้างมั้ยครับ

 

 

นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 10
  
  จอมพลถนอม  กิตติขจร
 
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 11
   
    จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
 
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 12
   
นายสัญญา  ธรรมศักดิ์
  
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 13
   
หม่อมราชวงค์คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 14
   
     นายธานินท์    ไกรวิเชียร
     
     นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 15
  
  พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์
   
  นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 16  
 
   พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
  
  นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 17
   
     พลเอกชาติชาย ชุณหวัณห์
 
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18
   
นายอานันท์ ปันยารชุน
  
  นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 19
   
  พลเอกสุจินดา คราประยูร 
   
   นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 20
   
     นายชวน หลีกภัย 
 
 นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 21
 
   นายบรรหาร ศิลปอาชา 
 
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 22
 
       พลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ
    
    นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 23
   
พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
 
 นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 24
   
พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 
 
 นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 25
   
นายสมัคร สุนทรเวช  
 
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 26
  
  นายสมชาย วงสวัสดิ์ 
 
นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 27
   
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 
 
   นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 28
   
น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 
 
9 พจน์ สารสิน.jpg พจน์ สารสิน 27 21 กันยายน พ.ศ. 2500
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
25 ธันวาคม พ.ศ. 2500
(ลาออก)
-
10
(1)
Tanom.jpg จอมพล ถนอม กิตติขจร 28 1 มกราคม พ.ศ. 2501
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและรัฐประหาร)
-
คณะปฏิวัติ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502  
11 Field Marsha Salit.JPG จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 29 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(ถึงแก่อสัญกรรม)
(ผู้บัญชาการทหารบก)
10
(2-4)
Tanom.jpg จอมพล ถนอม กิตติขจร 30 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 : เลือกตั้งทั่วไป)
(ผู้บัญชาการทหารบกพ.ศ. 2506-พ.ศ. 2507)
31 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
(รัฐประหาร)
-
สภาบริหารแห่งชาติ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 17 ธันวาคม พ.ศ. 2515  
จอมพล ถนอม กิตติขจร 32 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ลาออก เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา)
-
12 Sanya Dharmasakti.jpg สัญญา ธรรมศักดิ์ 33 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(ลาออก โดยอ้างเหตุร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ)
-
34 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 : เลือกตั้งทั่วไป)
6
(2)
Mt28.jpg หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 35 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(ไม่ได้รับความไว้วางใจจาก ส.ส.ในการแถลงนโยบาย)
Democrat Party logo.png
พรรคประชาธิปัตย์
13 Kukrit pramoj.jpg หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช 36 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
20 เมษายน พ.ศ. 2519
(ยุบสภา[2]
2social.gif
พรรคกิจสังคม
6
(3)
Mt28.jpg หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 37 20 เมษายน พ.ศ. 2519
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
25 กันยายน พ.ศ. 2519
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์จอมพล ถนอมกลับมาอุปสมบท)
Democrat Party logo.png
พรรคประชาธิปัตย์
38 25 กันยายน พ.ศ. 2519
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(รัฐประหาร)
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519  
14 Priminister14 of thailand2.jpg ธานินทร์ กรัยวิเชียร 39 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(มติคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
(รัฐประหาร)
-
คณะปฏิวัติ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520  
15
(1,2)
Ksak.jpg พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 40 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
(มติคณะปฏิวัติ)
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 : เลือกตั้งทั่วไป)
-
41 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย)
-
16
(1-3)
Gen.prem tinsulanont.JPG พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 42 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
30 เมษายน พ.ศ. 2526
(ยุบสภา[3]
(ผู้บัญชาการทหารบกพ.ศ. 2523-พ.ศ. 2524)
43 30 เมษายน พ.ศ. 2526
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภา[4]
-
44 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(ยุบสภา[5]
17
(1,2)
Chatchai.jpg พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ 45 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(ลาออก)
1chatthai.gif
พรรคชาติไทย
46 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
(รัฐประหาร)
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 1 มีนาคม พ.ศ. 2534  
18
(1)
Anand Panyarachun.jpg อานันท์ ปันยารชุน 47 2 มีนาคม พ.ศ. 2534
(มติคณะ รสช.)
7 เมษายน พ.ศ. 2535
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 : เลือกตั้งทั่วไป)
-
19 สุจินดา คราประยูร1.jpg พลเอก สุจินดา คราประยูร 48 7 เมษายน พ.ศ. 2535
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(ลาออก เนื่องจากเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ)
 
- Meechai.gif มีชัย ฤชุพันธุ์ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง)
10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
(รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน)
18
(2)
Anand Panyarachun.jpg อานันท์ ปันยารชุน 49 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ได้รับการเสนอชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ โดยอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร)
23 กันยายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภา[6]
-
20
(1)
Chuan.jpg ชวน หลีกภัย 50 23 กันยายน พ.ศ. 2535
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภา[7]
Democrat Party logo.png
พรรคประชาธิปัตย์
21 บรรหาร ศิลปอาชา1.jpg บรรหาร ศิลปอาชา 51 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภา[8]
1chatthai.gif
พรรคชาติไทย
22 Chavalit.jpg พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 52 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ)
ตราพรรคความหวังใหม่ (เดิม)1.gif
พรรคความหวังใหม่
20
(2)
Chuan.jpg ชวน หลีกภัย 53 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(ยุบสภา[9]
Democrat Party logo.png
พรรคประชาธิปัตย์
23
(1,2)
พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร.jpg พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร 54 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(สภาครบวาระ)
TRTP Logo.png
พรรคไทยรักไทย
55 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
19 กันยายน พ.ศ. 2549
(รัฐประหาร[10]
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.) 19 กันยายน พ.ศ. 2549 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549  
24 Gen.Surayuth.jpg พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ 56 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
(มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)
29 มกราคม พ.ศ. 2551
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 : เลือกตั้งทั่วไป)
-
25 Samak.jpg สมัคร สุนทรเวช 57 29 มกราคม พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 กันยายน พ.ศ. 2551
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง) [11]
PPP Logo.png
พรรคพลังประชาชน
26 Somchai Wongsawat 15112008.jpg สมชาย วงศ์สวัสดิ์ 9 กันยายน พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
PPP Logo.png
พรรคพลังประชาชน
58 18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี) [12]
- Chaovarat Chanweerakul (cropped).jpg ชวรัตน์ ชาญวีรกูล 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
15 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
(รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน)
27 Abhisit vejjajiva.jpg อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 59 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(ยุบสภา) [13]
Democrat Party logo.png
พรรคประชาธิปัตย์
28 Yingluck Shinawatra at US Embassy, Bangkok, July 2011.jpg ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 60 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
รักษาการ
(ยุบสภา)[14]
PheuThai Logo.png
พรรคเพื่อไทย

 

อดีตนายกรัฐมนตรีที่ยังมีชีวิตอยู่

 ที่มา
 

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย

 

 
 
คำสำคัญ (Tags): #การเมืองไทย
หมายเลขบันทึก: 556229เขียนเมื่อ 13 ธันวาคม 2013 05:06 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 ธันวาคม 2013 09:58 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

.....ก็..คิดเหมือนกัน..ว่า...อยู่นอก..มายาคติ..และ..อคติ..(ของผู้อื่นได้นั้น...ได้..เป็น..ธรรมดาๆธรรมชาติ..นิ..คุณ..คนบ้านไกล...)...ยายธี

สมัยผมเรียนอยู่อเมริกาเห็นเพื่อนๆ ที่เรียนด้วยกันคุยเรื่องการเมืองแล้วรู้สึกดีที่เขาคุยกันด้วยเหตุด้วยผล มีความเห็นต่างกันก็คุยกันได้ ฟังแล้วสนุกดีเสียอีกครับ

แต่อยู่เมืองไทยทำอย่างนั้นไม่ได้ครับ การเมืองเป็นเรื่องของอารมณ์และความเชื่ออยู่เหนือเหตุผลครับ คุยกับใครเกิดมีความคิดที่ผิดหูเขานิดเดียวนี่เป็นเรื่องครับ

แม้กระทั่งสมาชิกบางครอบครัวครับ

...อยู่แคนาดา คุยเรื่องการเมืองได้ค่ะ

ขอบคุณความเห็นของ "คุณน้องคนบ้านไกล" ที่สะกิดใจนักการเมืองไทยและคนไทยนะคะ...เปรียบเทียบผลที่ได้รับจากความไม่ซื่อสัตย์ของนักการเมืองในอเมริกา กับนักการเมืองของไทย

และขอบคุณข้อมูลนายกรัฐมนตรีของไทยจากคนที่ 10 - คนที่ 28 ในปัจจุบัน

พี่กำลังเตรียมภาพลงในบันทึกเรื่องใหม่ที่จะลงในวันนี้ มีภาพผักเหมือนผักที่หัว Blog ของคุณน้องด้วย เลยนำมาฝากค่ะ

หวังว่าคุณน้องเอง คุณน้องผู้หญิง และหลานทั้งสามจะสบายดีกันนะคะ และวันนี้เป็นวันตรุษจีนจึงฝากภาพมาอวยพรครอบครัวของคุณน้องด้วยนะคะ

สวัสดีครับคุณพี่ ไม่ได้คุยกันเสียนาน รู้สึกว่าคนเก่าคนแก่หายไปหมด

ลูกสาวเพิ่งพาไปเที่ยวทะเลมา ก็คงเหมือนกับที่ลูกสาวคุณพี่พาไปเที่ยวทะเล

ทุกคนได้รับความสุข ความสบายใจกัน

ผมจะกลับเมืองไทยประมาณเดือนเดือนมีนา เมษา ไปเช้งเม้งพ่อแม่ ไม่ได้ไปนานมากๆแล้ว

ตอนสิบวันแรกจะไปปฎิบัติธรรมกับซือฝู หลังจากนั้นคงได้ไปเที่ยวพบเพือนฝุงที่จากมานานแสนนาน

คุณพี่เกษียณแล้วคงสบายดี ที่นีตอนนี้หนาวมากๆ บางวัน ลบสิบองศา

หนาวแบบนี้ กลับไปอยู่เมืองไทยเสียจะดีกว่า

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท