ทฤษฎีหลักสูตร (Curriculum Theory)


               หลังจากที่ข้าพเจ้า นางสาวชุติมน  กระแสร์สินธุ์ ได้ศึกษาทฤษฎีของหลักสูตรมาจาก อินเตอร์เน็ตและหนังสือ  สรุปมาได้ดังนี้

ทฤษฎีมาจากคำในภาษากรีกว่า theoria connoting แปลว่า "การตื่นตัวของจิตใจ" มันเป็นชนิดของ "มุมมองที่บริสุทธิ์" ของความจริง ทฤษฎีอธิบายความเป็นจริง ทำให้ผู้คนตระหนักถึงโลกของพวกเขาและการมีปฏิสัมพันธ์

ทฤษฎีหลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ทฤษฎีการออกแบบ และ ทฤษฎีวิศกรรม

1.  ทฤษฎีการออกแบบ (Design Theories) จะเน้นในทฤษฎีทางปรัชญา สังคม และจิตวิทยา

2.  ทฤษฎีวิศวกรรม (Engineering Theories) อธิบาย พรรณนา คาดการณ์ หรือบ่งบอกถึงกิจกรรมกรพัฒนาหลักสูตร วิธีการหรือขั้นตอน

  ทฤษฏีหลักสูตรเป็นการศึกษาที่นักพัฒนาหลักสูตรพยายามพัฒนาหลักสูตรเป็น “ศาสตร์”(Science) มากขึ้น  โดยเน้นถึงความเป็นระบบ เป็นขั้นตอน  และสามารถพิสูจน์หรือทำนายได้  แทนที่จะดำเนินการอย่างไม่มีหลักหรือกฎเกณฑ์ที่เชื่อถือได้แต่อย่างไร

  ทฤษฎีหลักสูตรคือมวลประสบการณ์ที่ผู้เรียนพึงได้รับ เพื่อให้พวกเขาได้ลงมือปฏิบัติหรือสัมผัสจับต้องสิ่งต่างๆ ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างความรู้เกี่ยวกับสิ่งนั้น ทฤษฎีหลักสูตรในกลุ่มนี้จึงเน้นไปที่การจัดกิจกรรมและประสบการณ์อันหลากหลายให้แก่ผู้เรียน ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างจากทฤษฎีหลักสูตรในยุคแรกเป็นอย่างมาก

ขอบข่ายของทฤษฎีหลักสูตร

1. รากฐานในการวางหลักสูตร

 -  รากฐานทางด้านจิตวิทยา

-  รากฐานทางปรัชญา

-  รากฐานทางด้านสังคม

2. หลักการและวิธีการในการวางหลักสูตร

-  หลักและวิธีการในการกำหนดความมุ่งหมายของหลักสูตร

-  หลักในการเลือกวิชาเพื่อบรรจุลงในหลักสูตร

-  หลักในการกำหนดลำดับขั้นของเนื้อหาวิชา

-  หลักในการแบ่งเวลาการเรียนการสอนของแต่ละวิชา

-  วิธีการในการวางหลักสูตร

สรุปทฤษฎีหลักสูตร

              ทฤษฏีหลักสูตรเป้าหมายแนวทางในการพัฒนา  ปรับปรุง ออกแบบ หรือสร้างหลักสูตรขึ้นมาใหม่  โดยดูพื้นฐานของผู้เรียนในด้านจิตวิทยา ปรัชญา  และสังคม หลังจากนั้นก็กำหนดจุดมุ่งหมาย  เนื้อหาและทฤษฎีของการทำหลักสูตรเป็นขั้นตอน  โดยเน้นถึงประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับ แล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประสบการณ์ที่หลากหลาย


คำสำคัญ (Tags): #ทฤษฎีหลักสูตร
หมายเลขบันทึก: 542155เขียนเมื่อ 12 กรกฎาคม 2013 06:58 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กรกฎาคม 2013 06:58 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

อาจารย์อ่านแล้วเข้าใจสิ่งที่คุณเขียนเพียง 10 เปอร์เซนต์ เนื่องจากเนื้อหาไม่เป็นเหตุเป็นผลต่อกันเลย และคิดว่าถ้าคุณอ่านสิ่งที่คุณเขียน คุณก็คงไม่เข้าใจเหมือนกัน ควรเขียนส่งมาใหม่ค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท