ดร.กฤษฎา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สังขมณี

การจัดการสินเชื่อ เทอม 1/2555 กลุ่ม 1


Good morning my lovely students

             Today , Tuesday June , the twelth , 2012.

             New semester and second year in SSRU.

             You will graduate soon so you must know everything in finance and economic world.

             We 'll communicate in my blog, assignment , homeworks and so on.

             Thank you for joining us , go together and receive your success.

                                  Bye

        Assistant Professor Doctor Krisada

คำสำคัญ (Tags): #joy with credit management
หมายเลขบันทึก: 490920เขียนเมื่อ 12 มิถุนายน 2012 07:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 กรกฎาคม 2012 09:38 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (81)

คำถามประจำบทที่ 3 5. สินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค โครงสร้างองค์กร

  1. หน่วยงานผู้ว่าจ้างจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะว่าธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างตามสัญญากับผู้ว่าจ้าง แต่ถ้ากรณีที่ผู้รับเหมาผิดข้อตกลง ธนาคารนั้นต้องเป็นผู้รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับผู้ว่าจ้างได้อีกทอดหนึ่ง ธนาคารจะลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของผู้รับเหมามาขอค้ำประกัน

คำถามประจำบทที่ 4

  1. การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ เพราะ ให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละรายต้องมีความรอบคอบ ดูแลการเบิกเงินกู้เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้ แล้วก็ต้องควบคุมการชำระคืนได้คืน โดยที่ลูกค้าต้องได้รับวงเงินกู้รวมกับส่วนทุนของลูกค้า

  2. ธนาคารขนาดใหญ่มักมีเงินทุนสำรอง และมีสภาพคล่องทางการเงินที่สูงมากกว่าธนาคาร ขนาดเล็กจึงให้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าเพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารให้คงที่ แต่ไม่สามรถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าแห่งประเทศไทยกำหนด

คำถามประจำบทที่ 3 5.ตอบ 1.สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2. สินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค โครงสร้างองค์กรแบบโครงสร้างหน่วยงานขายตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์

8.ตอบ หน่วยงานที่จ้างจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะถ้าบริษัทรับเหมาก่อสร้างผิดสัญญากับหน่วยงานผู้จ้างนั้น ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและธนาคารยังสามารถไล่เบี้ยกับบริษัทรับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง

คำถามประจำบทที่ 4

5.ตอบ การกำหนดหลักประกัน เพราะโดยส่วนใหญ่ผู้กู้มักจะไม่สามารถชำระคืนได้จึงมีความเสี่ยงสูงมาก จึงต้องใช้หลักพิจารณาให้รอบคอบเพื่อที่จะได้มีแนวทางแก้ไขปัญหาในกรณีที่ไม่สามารถชำระคืนได้ จะต้องมีหลักประกันหรือผู้ค้ำประกันเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับสถาบันการเงินหรือธนาคาร จึงต้องกำหนดและพิจารณาหลักประกันที่จะนำมาใช้

8.ตอบ เพราะธนาคารที่มีขนาดใหญ่มักมีเงินทุนสำรอง และมีสภาพคล่องทางการเงินที่สูงมากกว่าธนาคารขนาดเล็กจึงให้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าเพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารให้คงที่ แต่ทั้งนี้จะไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดได้

คำถามประจำบทที่ 3

          ข้อ 5     1. สินเชื่ออุตสาหกรรม   2. สินเชื่อธุรกิจบริการ  ควรมีโครงสร้างแบบขายส่งแบบรายเดือนห้ามเกิน 1 เดือน ในการชำรพหนี้
          ข้อ 8     หน่วยงานที่ว่าจ้างจะไม่มีความเสี่ยง เพราะว่าธนาคารเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ของประเทศที่มีความน่าเชื่อถือจากประชาชนที่นำเงินมาฝากกับธนาคารและยังปล่อยเงินกู้ประชาชนกู้ยืมอีก ถ้าผู้รับเหมาก่อสร้าง เบี้ยวการก่อสร้าง ทางธนาคารก้อจะรับผิดชอบแทนให้

คำถามประจำบทที่ 4

           ข้อ 5      การกำหนดแนวทางช่วยเหลือให้ลูกหนี้ที่อ่อนแอ เพราะ การที่ลูกหนี้กู้ยืมเงินจากธนาคารไปแล้วสามารถจ่ายได้เพียงแค่ครึ่งนึง แล้วตกงานขึ้นมาก็ไม่มีงานทำก่อไม่สามารถชดใช้หนี้สินคืนได้ ทางธนาคารก้อจะให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องการชดใช้หนี้ รึไม่ก็แนะนำวิธีการหาเงินที่ลูกหนี้สามารถพอทำได้บ้าง
            ข้อ 8     เพราะ ธนาคารขนาดใหญ่มีวงเงินสินเชื่อมากกว่าธนาคารขนาดเล็กอยู่แล้วจึงสามารถให้วงเงินดอกเบี้ยที่ต่างจากธนาคารขนาดเล็กเพรามีเงินหมุนเวียนไม่เท่ากัน ธนาคารขนาดใหญ่ก็น่าจะมีวงเงินดอกเบี้ยให้กับลูกค้ามากกว่า ธนาคารขนาดเล็กที่มีวงเงินสินเชื่อน้อยจึงมีดอกเบี้ยให้กับลูกค้าได้น้อยกว่า

คำถามประจำบทที่ 3

ข้อ 5 ตอบ ในกรณีที่กิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยเราควรไห้สินเชื่อประเภทของสินเชื่อจากกิจการขายสินค้า สินเชื่อธุรกิจ ( Business Credit ) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ โครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) แต่ละรูปแบบโครงสร้างองค์กรเพื่อไห้ได้ผลดีจะมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าหรือบริการหรือภาวะการณ์ที่เปลี่ยนไป และองค์กรที่ดีจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการ และโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อไห้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกของธุรกิจต่อไป

ข้อ 8 ตอบ การออกหนังสือค้ำประกัน ( Letter of Guarantee : L/G ) คือการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ในกรณีที่ลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่ง ดิฉันคิดว่าหน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกันไม่ได้รับความเสี่ยงหรือความเสี่ยงอาจมีน้อยมากหรือไม่มีเลยเพราะผู้รับเหมาก่อสร้างได้ทำหนังสือรับรองกับธนาคารไว้แล้ว หากผู้รับเหมาไม่ปฏิบัติตามหรือโกงหน่วยงานของผู้ว่าจ้าง ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมดตามที่ได้ตกลงทำสัญญากับผู้รับเหมาไว้ แล้วธนาคารจะตามไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาเองอิกทอดหนึ่ง

คำถามประจำบทที่ 4

ข้อ 5 ตอบ ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ การกำหนดหลักประกัน เป็นที่รู้ๆกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน สถาบันการเงินหรือธนาคารให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ถึงแม้ลูกค้าจะมีหลักประกันแล้วยังอาจต้องการไห้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้น เพราะถ้าขาดหลักประกันอันนี้หรือประเมินหลักประกันต่ำเกินการให้วงเงินสินเชื่อที่ธนาคารให้ไป ธนาคารเองก็อาจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากลูกค้าไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามที่ตกลงกันไว้ ดั้งนั้นเราควรให้ความสำคัญกับหลักประกันเป็นอย่างมาก ควรตรวจสอบหลักประกันเป็นอย่างดีเพื่อจะได้ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

ข้อ 8 ตอบ การกำหนดอัตราดอกเบี้ย ธนาคารขนาดใหญ่และขนาดเล็กจะไห้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกันเพราะว่าธนาคารขนาดใหญ่จะมีความสามารถสูงในการให้สินเชื่อ สามารถให้สินเชื่อที่มากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีต้นทุนสูงในการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก ส่วนธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนไม่มากเหมือนกับธนาคารขนาดใหญ่จึงไม่สามารถให้สินเชื่อมาๆกับลูกค้าได้และดอกเบี้ยยังสูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่อีกด้วย แต่ทั้งนี้ก็ต้องคำนึงถึงลูกค้าแต่ละรายว่ามีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด ระยะเวลาการให้กู้ วงเงินกู้ ประเภทหรือลักษณะธุรกิจและคุณสมบัติของผู้กู้ที่เป็นประชาชน สถาบันการเงินจะไม่สามรถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดได้

นางสาวสุภาวดี พูลสวัสดิ์ 54127326021 การเงินการธนาคาร01

คำถามประจำบทที่ 3 5. ในกรณีกิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทสไทยท่านคิดว่าควรมีการให้สินเชื่อประเภทใดบ้าง และโครงสร้างองค์กรควรเป็นอย่างไร »» สินเชื่อธุรกิจ (Business Credit) สินเชื่อจากการขายสินค้า และควรเลือกโครงสร้างองค์กรแบบ โครงสร้างหน่วยงานการขายทางพื้นที่ภูมิศาตร์

 8. ท่านคิดว่าการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะยังคงได้รับความเสี่ยงสูงอีกหรือไม่ จงอภิปราย 

»» ข้าพเจ้าคิดว่าความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอาจมีแต่ก้ไม่มากนัก เพราะว่าจากการที่ธนาคารจะออกหนังสือค้ำประกันให้กับบุคคลนั้น ธนาคารจะต้องตรวจสอบให้รอบคอบโดยพิจารณาจากชื่อเสียงผลงานในอดีตของลูกค้าที่มาขอค้ำประกัน ถ้าในกรณีที่เกิดลูกค้าผิดข้อตกลงกันกับผู้ว่าจ้างนั้น ธนาคารจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้แต่ธนาคารสามารถเรียกไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่ง ดังนั้นธนาคารจะต้องกำหนดเงื่อนไขต่างๆ ให้เหมาะสม คำถามประจำบทที่ 4

 5. ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญมีหลายอย่าง ท่านคิดว่าส่วนประกอบใดที่สำคัยที่สุด เพราะเหตุใด

»» ส่วนประกอบที่สำคัญ คือ ความเชื่อถือและความไว้วางใจ เพราะข้าพเจ้าคิดว่าความเชื่อถือและไว้วางใจระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย นั้นเป็นเรื่องที่สำคัญ เช่น ในการที่จะให้สินค้าหรือบริการไปใช้ก่อน โดยมีสัญญาและกำหนดเงื่อนไขและเวลาการชำระคืนในอนาคต จะเกิดความยินยอมหรือไม่ขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของลูกหนี้เป็นสำคัญ ว่าจะสามารถทำให้เจ้าหนี้เชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด

  1. เพราะเหตุใด ธนาคารขนาดใหญ่และขนาดเล็กจึงให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน »» ข้าพเจ้าคิดว่า เพราะธนาคารขนาดใหญ่จะมุ่งเน้นการให้ดอกเบี้ยที่สูงกับธุรกิจที่ต้องใช้งบประมาณค่อนข้างมากหรือธุรกิจที่มีความมั่งคั่งสูงและสามารถชำระคืนได้แน่นอนกับดอกเบี้ยที่โตตามธุรกิจ ส่วนธนาคารขนาดเล็กจะเน้นไปที่ลูกค้ารายย่อยอย่างเช่นธุรกิจที่เป็น SME ธุรกิจขนาดเล็ก เพราะลูกค้าสามารถขอสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ถูกและพวกเขาสามารถชำระคืนได้

คำถามประจำบทที่ 3

ข้อ 5 ตอบ

      ในกรณีกิจการค้าส่งที่ขายไปยังภูมิภาคของประเทศไทย ดิฉันคิดว่าควรมีการให้ สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อระยะสั้น สินเชื่อภายในประเทศ และโครงสร้างองค์กรควรจะไม่ซับซ้อน เนื่องจากสินค้าขายส่งส่วนมากจะเป็นสินค้าน้อยชนิด มีฝ่ายขายทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สินเชื่อไปในตัว จัดกลุ่มลูกค้าตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ หรือตามภูมิศาสตร์หรือลักษณะการซื้อ

ข้อ 8 ตอบ

     การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะไม่ได้รับความเสี่ยง เนื่องจากในการดำเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง การใช้หนังสือค้ำประกัน ในการเสนอประมูลงาน และค้ำประกันผลงานการก่อสร้างต่างจะช่วยลดความเสี่ยงในข้อผิดพลาดในการดำเนินงานของผู้ประมูลงานได้ อีกทั้งยังมีส่วนช่วยให้มีคุณสมบัติที่ครบถ้วน ในการขอเข้าร่วมประมูลงานตามเงื่อนไขของผู้ว่าจ้าง หรือเจ้าของโครงการ และการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ถ้าหากลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่งด้วย

คำถามประจำบทที่ 4

ข้อ 5 ตอบ

         ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ กฎหมายและเงื่อนไขต่างๆที่สอดคล้องกับแนวนโยบายของประเทศโดยผ่านพระราชบัญญัติที่กำกับดูแลโดยธนาคารแห่งประเทศไทย หรือกระทรวงพาณิชย์ เพราะกฎหมายและเงื่อนไขต่างๆจะเป็นตัวกำหนดส่วนประกอบอื่นๆต่อไปตามมาให้อยู่ในขอบเขตของกฎหมายและเงื่อนไขที่ได้กำหนดนั้นอย่างแน่นอน

ข้อ 8 ตอบ

        สาเหตุที่ธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็ก ให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่แตกต่างกัน เนื่องจากปัจจุบันธนาคารที่มีขนาดเล็กมักจะเรียกเก็บดอกเบี้ยเป็นจำนวนเปอร์เซ็นต์ที่สูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่อยู่พอสมควรเพราะมีช่องทางการระดมทุนและต้นทุนที่สูงกว่ามาก แต่ในทางกลับกันธนาคารขนาดเล็กจะมีตัวช่วยในเรื่องที่ปล่อยเงินกู้ง่ายกว่า ธนาคารขนาดใหญ่มากเป็นพิเศษ จึงดึงดูดความสนใจจากผู้ประกอบการได้เป็นอย่างดี

 

นางสาวมาริษา  กำลังมาก รหัส 54127326043

คำถามประจำบทที่3

    5.ตอบ สินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่

เป็นการให้สินสินเชื่อในแต่ละสาขา แบ่งเป็นส่วนๆไปเพื่อกระจายความเสี่ยง และให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและสภาพของสินค้า และบริการ ในแต่ละพื้นที่และแต่ละภูมิต้องพิจารณาจากภาวะการแข่งขันของตลาดด้วย

   8.ตอบ   หน่วยงานที่จ้างงานจะไม่ได้รับความเสี่ยงอีก ในกรณีที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างผิดสัญญากับผู้จ้างงาน ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามข้อตกลงที่ได้ทำคำประกันในรูปแบบหนังสือค้ำประกันและธนาคารที่จะออกหนังสือค้ำประกันก็สามารถพิจารณาจากบริษัทที่จะมาขอทำหนังสือค้ำประกัน จากผลงาน หรือชื่อเสียงที่ผ่านมาได้ และกำหนดเงื่อนไขให้เหมาะสม

คำถามประจำบท4

    5.ตอบ    การยอมรับความเสี่ยงเป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุด    เพราะในการให้สินเชื่อแต่ละครั้งควรพิจารณาจากเหตุผลหลายประการ อธิเช่น  สภาพคล่อง    สภาพการแข่งขัน   สภาพเศรษฐกิจ ฯ  จึงทำให้มีความเสี่ยงในการลูกหนี้ของเราจะไม่ชำระหนี้ตามข้อกำหนดที่ได้กำหนดกันไว้ และมีความเสี่ยงมากกับลูกค้าที่มีฐานะและกำไรไม่ดี แต่ได้ดอกเบี้ยสูงจึงทำให้ธนาคารมีความเสี่ยงในการที่จะได้รับชำระหนี้จากผู้กู้ครบวงเงินและครบกำหนด
     8.ตอบ  ธนาคารที่มีขนาดใหญ่มักมีเงินทุนสำรองและมีสภาพคล่องทางการเงินที่สูงมากกว่าธนาคารขนาดเล็กจึงให้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าเพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารให้คงที่  แต่ไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด

ธีรธัช มาลีพันธ์ 54127326029

คำถามประจำบทที่ 3

ข้อ 5 ตอบ -สินเชื่อธุรกิจ -สินเชื่อระยะสั้น -สินเชื่อภายในประเทศ และโครงสร้างองค์กรที่กระชับ ไม่ซับซ้อน เนื่องจากสินค้าขายส่งมีปริมาณน้อย รูปแบบโครงสร้างองค์กรอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้า หรือ บริการ หรือภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกธุรกิจ

ข้อ 8
ตอบ จะช่วยลดความเสี่ยงลงได้ เพราะการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ผู้รับเหมาในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง กรณีที่ผู้รับเหมาผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาได้อีกทอดหนึ่ง ธนาคารลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของลูกค้าที่มาขอรับประกัน รวมถึงกำหนดเงื่อนไขต่างๆ ให้เหมาะสม

คำถามประจำบทที่ 4

ข้อ 5 ตอบ การติดตามเร่งรัดชำระหนี้ นโยบายนี้มีความสำคัญมาก เพราะหากใช้นโยบายใดก็ตามแต่กิจการไม่สามารถเรียกเก็บชำระหนี้ได้จากลูกหนี้ ถือว่าประสบความล้มเหลวทางธุรกิจอย่างสิ้นเชิง ทั้งนี้กิจการต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อลูกค้า ในขณะเดียวกันก็ต้องเรียกเก็บหรือเร่งรัดชำระหนี้ให้เร็วที่สุด โดยมีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดด้วย

ข้อ 8 ตอบ เพราะธนาคารจะคิดดอกเบี้ยจากลูกค้าแต่ละรายไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความเสี่ยง ระยะเวลาในการให้กู้ วงเงินกู้ ประเภทหรือลักษณะธุรกิจ และคุณสมบัติของผู้กู้ที่เป็นประชาชน ทั้งนี้สถาบันการเงินจะไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5. ตอบ สินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อภายในประเทศ และโครงสร้างนั้นจะมีการกระจายความเสี่ยงออกไป จะไม่มีการซับซ้อนของสินเชื่อ จะมีการปรับเปลี่ยนไปตามสินค้าเพื่อให้มีความเหมาะสมในโลกธุรกิจ และวงเงินขายลดเช็ค วงเงินขายลดตั๋วแลกเงิน ตั๋วแลกเงิน การอาวัล รับรองตั๋วแลกเงิน รวมถึงหนังสือค้ำประกันที่สอดคล้องกับการดำเนินธุรกิจ

ข้อ 8. ตอบ การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้เหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับคนคนนั้น โดยส่วนของธนาคารเองนั้นก็จะตรวจสอบโดยพิจารณาในตัวของลูกค้านั้นว่าปัจจุบันนี้เป็นหนี้ที่ธนาคารไหนอยู่หรือเปล่า และธนาคารก็จะตรวจสอบที่มาขอค้ำประกันเพราะถ้าเกิดในกรณีที่ลูกค้าผิดข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ธนาคารนั้นก็จะตกมีความรับผิดชอบต่อผู้ค้ำประกัน และธนาคารนั้นสามารถที่จะไปเรียกเก็บกับลูกค้าได้โดยไม่ผิดกฎหมาย

คำถามประจำบทที่ 4 ข้อ 5. ตอบ การบริหารความเสี่ยง (RISK MANAGEMENT) น่าจะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะธุรกิจธนาคาร เป็นธุรกิจที่เกิดขึ้นจากการบริการความเสี่ยงเป็นหัวใจสำคัญ ฉะนั้นถ้าสามารถลดความเสี่ยงลงได้มากเท่าไร ก็จะมีสถานะมั่นคงมากเท่านั้น และควรคำนึงถึงด้วยว่า ถ้าเสี่ยงมาก ควรได้รับผลตอบแทนมาก ถ้าเสี่ยงน้อย ผลตอบแทนน้อย ก็ไม่เป็นไร การบริหารความเสี่ยง มีประเด็นที่ต้องคำนึงถึง คือ GOOD QUANLITY OF ASSET คือ การบริหารสินทรัพย์ที่มีคุณภาพดี เลือกลงทุนให้ธุรกิจที่มีผลตอบแทนสูง สินเชื่อที่ธนาคารปล่อยก็ถือว่าเป็นสินทรัพย์ด้วย ฉะนั้น การปล่อยสินเชื่อที่ดี ก็จะสามารถลดความเสี่ยงได้ INDUSTRIAL DISTRIBUTION คือ การกระจายสัดส่วนสินเชื่อใน PORTFOLIO ไปตามประเภทของธุรกิจต่าง ๆ ไม่ควรปล่อยสินเชื่อธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งมากจนเกินไป หากธุรกิจนั้น ๆ มีปัญหา ผลกระทบก็จะรุนแรงตามไปด้วย และความเสี่ยงนั้นคือเหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอนซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบ ความเสี่ยงนั้นสามารถที่จะเกิดขึ้นได้เสมอถ้าแผนธุรกิจไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ การควบคุมกิจการไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ตามที่คาดหวัง การที่ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์อันเหมาะสมอย่างเพียงพอต่อองค์กร การผลิตสินค้าตามที่ไม่ได้ความต้องการ ความผิดพลาดของข้อมูล เป็นต้น และความไม่แน่นอนทางธุรกิจนี้เป็นเสมือนดาบสองคม คืออาจก่อให้เกิดผลลัพธ์ในทางบวกซึ่งเป็นการให้โอกาสแก่องค์กร หรืออาจก่อให้เกิดผลลัพธ์ในทางลบซึ่งถือว่าเป็นความเสี่ยง ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ท้าทายผู้บริหาร ให้ต้องสามารถใช้โอกาสให้เป็นประโยชน์ในการกำหนดกลยุทธ์องค์กร หรือการกำหนดความเสี่ยงที่เหมาะสมที่องค์กรนั้นสามารถที่จะยอมรับได้

ข้อ 8. ตอบ ธนาคารขนาดใหญ่ จะให้ดอกเบี้ยที่สูงมีวงเงินมากและเยอะกว่าธนาคารขนาดเล็ก และธนาคารใหญ่นี้จะมีการเพิ่มประสิทธิภาพ มาตรฐานและความรวดเร็วในการให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการทางการเงินให้กับลูกค้า ธนาคารขนาดใหญ่นี้มีไว้สำหรับประชาชนที่จะกู้ยืมไปลงทุนทำธุรกิจขนาดใหญ่ ธนาคารขนาดเล็ก จะให้ดอกเบี้ยส่วนสดของเครดิตและวงเงินอยู่ที่ขั้นต่ำเหมาะสำหรับประชาชนที่ทำธุรกิจ sme หรือธุรกิจที่มีขนาดเล็ก และดอกเบี้ยของธนาคารขนาดเล็กนี้จะไม่ดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละของ MRR ต่อปี ธนาคารขนาดเล็กนั้นก็จะมีความเสี่ยงในธุรกิจคือถ้ายิ่งใหญ่ก็จะยิ่งบริหารงานช้าแล้วถ้าเกิดเหตุอะไรที่กะทันหันก็มักจะทำงานนั้นไม่ทัน ธนาคารขนาดเล็กนี้นอกจากความช่วยเหลือด้านการเงินเป็นพิเศษแล้ว ยังร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น และช่วยเหลือผู้ประกอบการอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้งในเชิงรุกและเชิงรับให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ

54127326042 นางสาวฐิตาภา ศรีวัฒนา

นางสาวอรนุช เพียราชโยธา

คำถามประจำบทที่ 3 5. ตอบ - สินเชื่อธุรกิจ เป็นสินเชื่อสำหรับกิจการห้างร้านไม่ว่าจะนำไปใช้เพื่อลงทุนเพื่อการผลิตหรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงาน - โครงสร้างองค์กรโครงสร้างของหน่วยงานขายตามประเภทของผลิตภัณฑ์เป็นการจัดโครงสร้าง โดยให้ผู้บริหารหรือพนักงานขายแต่ละคนรับผิดชอบงานขายในแต่ละผลิตภัณฑ์ เหมาะสำหรับบริษัทที่ขายผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้เทคนิคและมีความสลับซับซ้อน จึงจำเป็นต้องมีพนักงานขายที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ผลิตภัณฑ์เข้ามารับผิดชอบ หรือกรณีที่บริษัทมีผลิตภัณฑ์หลายประเภทที่แตกต่างกัน การจัดโครงสร้างแบบนี้จะช่วยให้พนักงานขายไม่ต้องรับภาระในผลิตภัณฑ์จำนวนมากเกินไป 8. ตอบ ไม่ มีความเสี่ยง เพราะว่ามันเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ลูกค้าที่มีความจำเป็นต้องใช้หนังสือค้ำประกันในการติดต่อทำธุรกิจกับคู่ค้าในต่างประเทศและในประเทศไทย เป็นบริการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับคู่สัญญาของลูกค้า เพื่อเพิ่มความมั่นใจได้ว่า หากลูกค้าไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ธนาคารจะเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแทน

คำถามประจำบทที่ 4 5. ตอบ การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ ให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ ควบคุมการเบิกเงินกู้ได้ เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้ ขณะเดียวกันก็ต้องควบคุมการชำระคืนได้ด้วย โดยที่ลูกค้าต้องได้รับวงเงินกู้รวมกับส่วนทุนขอของลูกค้าเอง แล้วเพียงพอในการทำธุรกิจได้ 8. ตอบ เพราะธนาคารขนาดใหญ่ให้ผลตอบแทนเฉลี่ยสูงสุดแต่ธนาคารขนาดเล็กให้ผลตอบแทนสินทรัพย์เฉลี่ยที่ต่ำกว่า ขณะที่มีความเสี่ยงสูงกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับธนาคารขนาดใหญ่ และต้นทุนของแต่ธนาคารไม่เท่ากัน จึงทำให้ดอกเบี้ยของแต่ละธนาคารไม่เท่ากัน 54127326032 น.ส.อรนุช เพียราชโยธา

นางสาวอรนุช เพียราชโยธา

คำถามประจำบทที่ 3

5.ตอบ    - สินเชื่อธุรกิจ เป็นสินเชื่อสำหรับกิจการห้างร้านไม่ว่าจะนำไปใช้เพื่อลงทุนเพื่อการผลิตหรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงาน

- โครงสร้างองค์กรโครงสร้างของหน่วยงานขายตามประเภทของผลิตภัณฑ์เป็นการจัดโครงสร้าง    โดยให้ผู้บริหารหรือพนักงานขายแต่ละคนรับผิดชอบงานขายในแต่ละผลิตภัณฑ์ เหมาะสำหรับบริษัทที่ขายผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้เทคนิคและมีความสลับซับซ้อน   จึงจำเป็นต้องมีพนักงานขายที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ  ผลิตภัณฑ์เข้ามารับผิดชอบ  หรือกรณีที่บริษัทมีผลิตภัณฑ์หลายประเภทที่แตกต่างกัน การจัดโครงสร้างแบบนี้จะช่วยให้พนักงานขายไม่ต้องรับภาระในผลิตภัณฑ์จำนวนมากเกินไป

 

8. ตอบ   ไม่ มีความเสี่ยง เพราะว่ามันเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ลูกค้าที่มีความจำเป็นต้องใช้หนังสือค้ำประกันในการติดต่อทำธุรกิจกับคู่ค้าในต่างประเทศและในประเทศไทย เป็นบริการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับคู่สัญญาของลูกค้า เพื่อเพิ่มความมั่นใจได้ว่า หากลูกค้าไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ธนาคารจะเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแทน


คำถามประจำบทที่ 4

 

5. ตอบ   การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ    ให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย    ต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ ควบคุมการเบิกเงินกู้ได้   เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้    ขณะเดียวกันก็ต้องควบคุมการชำระคืนได้ด้วย   โดยที่ลูกค้าต้องได้รับวงเงินกู้รวมกับส่วนทุนขอของลูกค้าเอง แล้วเพียงพอในการทำธุรกิจได้

 

8. ตอบ   เพราะธนาคารขนาดใหญ่ให้ผลตอบแทนเฉลี่ยสูงสุดแต่ธนาคารขนาดเล็กให้ผลตอบแทนสินทรัพย์เฉลี่ยที่ต่ำกว่า ขณะที่มีความเสี่ยงสูงกว่า    เมื่อเปรียบเทียบกับธนาคารขนาดใหญ่ และต้นทุนของแต่ธนาคารไม่เท่ากัน จึงทำให้ดอกเบี้ยของแต่ละธนาคารไม่เท่ากัน

54127326032    น.ส.อรนุช    เพียราชโยธา 

ศุภนิดา สุวรรณรัตน์

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ ในกรณีที่กิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยเราควรไห้สินเชื่อประเภทของสินเชื่อจากกิจการขายสินค้า สินเชื่อธุรกิจ เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ โครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก แต่ละรูปแบบโครงสร้างองค์กรเพื่อไห้ได้ผลดีจะมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าหรือบริการหรือภาวะที่เปลี่ยนไป และองค์กรที่ดีจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการ และโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อไห้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกของธุรกิจต่อไป ข้อ 8 ตอบ การออกหนังสือค้ำประกัน คือการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ในกรณีที่ลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่ง ดิฉันคิดว่าหน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกันไม่ได้รับความเสี่ยงหรือความเสี่ยงอาจมีน้อยมากหรือไม่มีเลยเพราะผู้รับเหมาก่อสร้างได้ทำหนังสือรับรองกับธนาคารไว้แล้ว หากผู้รับเหมาไม่ปฏิบัติตามหรือโกงหน่วยงานของผู้ว่าจ้าง ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมดตามที่ได้ตกลงทำสัญญากับผู้รับเหมาไว้ แล้วธนาคารจะตามไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาเองอิกทอดหนึ่ง คำถามประจำบทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ การกำหนดหลักประกัน เพราะโดยส่วนใหญ่ผู้กู้มักจะไม่สามารถชำระคืนได้จึงมีความเสี่ยงสูงมาก จึงต้องใช้หลักพิจารณาให้รอบคอบเพื่อที่จะได้มีแนวทางแก้ไขปัญหาในกรณีที่ไม่สามารถชำระคืนได้ จะต้องมีหลักประกันหรือผู้ค้ำประกันเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับสถาบันการเงินหรือธนาคาร จึงต้องกำหนดและพิจารณาหลักประกันที่จะนำมาใช้ ข้อ 8 ตอบ เพราะธนาคารที่มีขนาดใหญ่มักมีเงินทุนสำรอง และมีสภาพคล่องทางการเงินที่สูงมากกว่าธนาคารขนาดเล็กจึงให้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าเพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารให้คงที่ แต่ทั้งนี้จะไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดได้

บทที่ 3 ข้อ 5. สินเชื่อที่ควรให้ ได้แก่ สินเชื่อที่แบ่งโดยใช้ขอบเขตประเทศ คือสินเชื่อภายในประเทศ แบ่งโดยใช้พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ คือสินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค และโครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างหน่วยงานการขายทางพื้นที่ภูมิศาสตร์ซึ่งก็คล้ายกับ บริษัทผลิตภัณฑ์อาหารกว้างไพศาล จำกัด (มหาชน) เพราะเป็นกิจการค้าส่งไปในภูมิภาคต่างๆของประเทศไทย

ข้อ 8. หน่วยงานผู้ว่าจ้างจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะว่าธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างตามสัญญา กับผู้ว่าจ้าง แต่ถ้ากรณีที่ผู้รับเหมาผิดข้อตกลง ธนาคารนั้นต้องเป็นผู้รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถ ไล่เบี้ยกับผู้ว่าจ้างได้อีกทอดหนึ่ง ธนาคารจะลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของผู้รับ เหมาที่มาขอค้ำประกัน

บทที่ 4 ข้อ 5. คือ การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ เพราะต้องให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ ควบคุมการเบิกเงินกู้ได้เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้ และต้องควบคุมการชำระคืนได้ด้วย เพราะโดยความเสี่ยงส่วนใหญ่มักอยู่ที่ผู้กู้ไม่สามารถชำระคืนได้

ข้อ 8. เพราะธนาคารที่มีขนาดใหญ่มักมีเงินทุนสำรอง มีต้นทุนสูงมากกว่าธนาคารขนาดเล็กและมีสภาพคล่องทางการเงินที่สูงมากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ธนาคารขนาดใหญ่มีการให้สินเชื่อที่สูงกว่าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าเพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารให้คงที่ แต่ทั้งนี้จะไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดได้

นางสาวแสงทิพย์ เผือกผ่อง 54127326001

นางสาว วิชุดา วิชชาชน

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ สินเชื่อธุรกิจ เป็นสินเชื่อสำหรับกิจการห้างร้าน ห้างหุ้นส่วน ไม่ว่าจะนำไปใช้เพื่อลงทุนเพื่อการผลิต หรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยให้ผู้บริหารหรือพนักงานขายแต่ละคนรับผิดชอบในงานของตนเอง โครงสร้างขององค์กรที่กระชับ ไม่ซับซ้อน เนื่องจากสินค้าขายส่งมีปริมาณมาก-น้อย รูปแบบโครงสร้างองค์กรอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้า หรือ บริการ หรือภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อ 8 ตอบ ไม่มีความเสี่ยง เพราะการที่ธนาคารผูกพันธุ์ตนเองในฐานะผู้ค้ำประกันให้ผู้รับเหมาในการปฏิบัติตาม สัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง กรณีที่ผู้รับเหมาผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอก เป็นบริการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับคู่สัญญาของลูกค้า เพื่อเพิ่มความมั่นใจได้ว่า ถ้าลูกค้าไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ธนาคารจะเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหายแทน คำถามประจำบทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ ควบคุมการเบิกเงินกู้ได้ เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้ จะเป็นตัวกำหนดส่วนประกอบอื่นๆต่อไปตามมาให้ อยู่ในขอบเขตของกฎหมายและเงื่อนไขขณะเดียวกันก็ต้องควบคุมการชำระคืนได้ด้วย โดยที่ลูกค้าต้องได้รับวงเงินกู้รวมกับส่วนทุนขอของลูกค้าเอง ข้อ 8 ตอบ ธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็ก ให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่แตกต่างกัน ปัจจุบันธนาคารที่มีขนาดเล็กมักจะเรียกเก็บดอกเบี้ยเป็นจำนวน เปอร์เซ็นต์ที่สูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่อยู่พอสมควรเพราะมีช่องทางการระดมทุน ต้นทุนที่สูงกว่า แต่ธนาคารขนาดเล็กจะเป็นเรื่องที่ปล่อยเงินกู้ง่ายกว่า ธนาคารขนาดใหญ่มากเป็นพิเศษ นางสาววิชชุดา วิชาชน 54127326035

คำถามประจำบทที่ 3

ข้อที่ 5.


    สินเชื่อเพื่อธุรกิจ (Business Installment Loan) เป็นสินเชื่อที่เหมาะแก่การให้สินเชื่อเป็นอย่างมาก เพราะเป็นสินเชื่อเพื่อธุรกิจสำหรับเจ้าของกิจการ ที่ต้องการเงินทุนเพื่อใช้ดำเนินการ ไม่ว่าจะเป็นการซื้ออุปกรณ์ ซื้อเครื่องจักรใหม่เพื่อเพิ่มกำลังการผลิต หรือการตกแต่งอาคารสำนักงานด้วยขั้นตอนการอนุมัติที่สะดวกรวดเร็ว ช่วยให้ธุรกิจของกิจการดำเนินไปอย่างคล่องตัวมากยิ่งขึ้น

     สินเชื่อภายในประเทศเป็นสินเชื่อที่สะดวกแก่การให้สินเชื่อแก่กิจการในประเทศสินเชื่อในที่นี้จะแบ่งเป็นวงเงินประเภทต่างๆ เช่น วงเงินกู้ระยะสั้น (Short term Loan : S/T)  วงเงินกู้ระยะยาว (Long term Loan : L/T)  วงเงินกู้สกุลเงินบาท (Bath Loan) เป็นต้น

     ลักษณะโครงสร้างควรเป็นแบบสายงานหลัก (The Line Form of Struture) เพราะว่าการบังคับบัญชาตามสายงานเป็นขั้นตอน ฉะนั้นจุดใดที่มีการปฏิบัติงานล่าช้าก็สามารถตรวจสอบได้รวดเร็ว

ข้อที่ 8.


    การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee : L/G) ให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างหน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกันจะไม่มีความเสี่ยงเพราะว่า ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง ถ้าเกิดกรณีที่ผู้รับเหมาก่อสร้างผิดข้อตกลงกับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ธนาคารมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง และธนาคารก็สามารถเรียกเก็บจากผู้รับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง

คำถามประจำบทที่ 4


ข้อที่ 5.


    ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญ คือ การกำหนดเงื่อไขและวงเงินสินเชื่อ เพราะว่าต้องกำหนดและประเมิณให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ สามารถควบคุมการเบิกเงินกู้ได้ ต้องทราบวัตถุประสงค์ของลูกค้าที่จะกู้ เพื่อให้ลูกค้านำเงินกู้ไปใช้ได้ตามจุดประสงค์ และที่สำคัญต้องมีการควบคุมให้มีการชำระคืนได้ด้วย ทั้งนี้เพื่อให้ลูกค้าได้รับวงเงินกู้เมื่อไปรวมกับส่วนทุนของลูกค้า ต้องเพียงพอต่อการทำธุรกิจได้

ข้อที่ 8.


    เพราะว่าธนาคารที่มีองค์กรขนาดใหญ่ย่อมมีวงเงินสินเชื่อมากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ธนาคารขนาดใหญ่จึงสามารถให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็กได้ และสามารถให้สินเชื่อได้มากกว่าเพราะมีเงินทุนหมุนเวียนต่างกัน ซึ่งธนาคารขนาดใหญ่ย่อมมีเงินทุนหมุนเวียนมากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ธนาคารขนาดใหญ่จึงสามารถให้ดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็กได้ แต่ธนาคารขนาดใหญ่จะเข้าถึงได้ยากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ส่วนธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนหมุนเวียนและการระดมทุนไม่มากเหมือนธนาคารขนาดใหญ่จึงไม่สามารถให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยต่ำได้ แต่จะสมารถเข้าถึงได้ง่ายกว่าธนาคารขนาดใหญ่ ธนาคารขนาดเล็กจึงสามารถดึงดูดลูกค้าได้ดีกว่าธนาคารขนาดใหญ่ ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยสถาบันการเงินจะไม่สามารถกำหนดให้สูงกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดไว้ได้


// นาย ธฤต พิกุลทอง 54127326009 //

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ สินเชื่อภายในประเทศ สินเชื่อธุรกิจ และโครงสร้างองค์กรควรจะไม่ซับซ้อน เพราะการค้าขายอาจจะเปลี่ยนเป็นไปตามเศรษฐกิจนั้นๆ เพื่อจะได้ดูคู่แข่งของกลุ่มอื่นๆ ต้องควรที่จะต้องแบ่งงานในองค์กรด้วยว่าใครจะทำหน้าที่อะไรบ้าง เพื่อจะได้ไม่มีปัญหาเกิดขึ้น ข้อ 8 ตอบ ไม่ได้รับการเสี่ยง เพราะ ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างตามสัญญา กับผู้ว่าจ้าง แต่ถ้าเกิดผู้รับเหมาก่อสร้างผิดสัญญาหรือผิดข้อตกลงที่วางไว้ ธนาคารนั้นจะเป็นผู้รับผิดชอบตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันไว้ และสามราถไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาได้อีกทอดหนึ่ง ธนาคารลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของลูกค้าที่มาขอรับประกัน รวมถึงกำหนดเงื่อนไขต่างๆ ให้เหมาะสม

คำถามประจำบทที่ 4 ช้อ 5 ตอบ การกำหนดหลักประกัน น่าจะเป็นนโยบายที่สำคัญที่สุดเพราะ ถ้าเราไม่มีการกำหนดหลักประกันไว้ธนาคารอาจจะมีความเสี่ยงเนื่องจากลูกค้าบางรายอาจจะไม่ได้ชำระหนี้ตามที่ตกลงไว้ ควรตรวจสอบก่อนเพื่อจะได้ไม่เกิดปัญหาตามมาได้ ข้อ 8 ตอบ ธนาคารขนาดใหญ่จะให้ดอกเบี้ยและมีเงินลงทุนสูงกว่าธนาคารขนาดเล็ก ขึ้นอยู่กับวงเงินกู้ การให้กู้ของแต่ละราย แต่สถาบันการเงินจะไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดไว้

นางสาว กมลรัตน์ อัศวเลิศพิพัฒน์ 54127326007

คำถามประจำบทที่ 3

    ข้อ 5. ควรใช่สินเชื่อประเภท สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อระยะสั้น สินเชื่อภายในประเทศ

ส่วนโครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างที่มีฝ่ายขายทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สินเชื่อไปในตัว และควรจัดกลุ่มลูกค้าให้ตรงตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ และตามภูมิศาสตร์ ลักษณะการซื้อของลูกค้า

     ข้อ 8. หน่วยงานผู้ว่าจ้างจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะถ้าบริษัทรับเหมาก่อสร้างผิดสัญญากับหน่วยงานผู้จ้าง ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันให้กับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง และธนาคารสามารถไล่เบี้ยกับบริษัทรับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง

คำถามประจำบทที่ 4

      ข้อ 5. ส่วนประกอบนโยบายสินเชื่อที่สำคัญที่สุดคือกฎหมายและเงื่อนไขต่างๆ เพราะกฎหมายและเงื่อนไขต่างๆจะเป็นตัวกำหนดส่วนประกอบนโยบายอื่นๆ อยู่ในขอบเขตของกฎหมายและที่สอดคล้องกับแนวนโยบายของประเทศโดยผ่านพระราช บัญญัติที่กำกับดูแลโดยธนาคารแห่งประเทศไทย

     ข้อ 8. เพราะธนาคารขนาดใหญ่จะมีเงินทุนมากกว่าธนาคารขนาดเล็ก และจะได้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยสูงกว่า จึงสามารถให้อัตราดอกเบี้ยได้ดีกว่าธนาคารขนาดเล็ก  

นางสาวปัทมาวรรณ คงถาวร

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ ในกรณีที่กิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยเราควรไห้สินเชื่อประเภทของสินเชื่อจากกิจการขายสินค้า สินเชื่อธุรกิจ ( Business Credit ) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ โครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) แต่ละรูปแบบโครงสร้างองค์กรเพื่อไห้ได้ผลดีจะมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าหรือบริการหรือภาวะการณ์ที่เปลี่ยนไป และองค์กรที่ดีจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการ และโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อไห้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกของธุรกิจต่อไป ข้อ 8 ตอบ การออกหนังสือค้ำประกัน ( Letter of Guarantee : L/G ) คือการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ในกรณีที่ลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่ง ดิฉันคิดว่าหน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกันไม่ได้รับความเสี่ยงหรือความเสี่ยงอาจมีน้อยมากหรือไม่มีเลยเพราะผู้รับเหมาก่อสร้างได้ทำหนังสือรับรองกับธนาคารไว้แล้ว หากผู้รับเหมาไม่ปฏิบัติตามหรือโกงหน่วยงานของผู้ว่าจ้าง ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมดตามที่ได้ตกลงทำสัญญากับผู้รับเหมาไว้ แล้วธนาคารจะตามไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาเองอิกทอดหนึ่ง คำถามประจำบทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ การกำหนดหลักประกัน เป็นที่รู้ๆกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน สถาบันการเงินหรือธนาคารให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ถึงแม้ลูกค้าจะมีหลักประกันแล้วยังอาจต้องการไห้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้น เพราะถ้าขาดหลักประกันอันนี้หรือประเมินหลักประกันต่ำเกินการให้วงเงินสินเชื่อที่ธนาคารให้ไป ธนาคารเองก็อาจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากลูกค้าไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามที่ตกลงกันไว้ ดั้งนั้นเราควรให้ความสำคัญกับหลักประกันเป็นอย่างมาก ควรตรวจสอบหลักประกันเป็นอย่างดีเพื่อจะได้ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ข้อ 8 ตอบ การกำหนดอัตราดอกเบี้ย ธนาคารขนาดใหญ่และขนาดเล็กจะไห้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกันเพราะว่าธนาคารขนาดใหญ่จะมีความสามารถสูงในการให้สินเชื่อ สามารถให้สินเชื่อที่มากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีต้นทุนสูงในการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก ส่วนธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนไม่มากเหมือนกับธนาคารขนาดใหญ่จึงไม่สามารถให้สินเชื่อมาๆกับลูกค้าได้และดอกเบี้ยยังสูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่อีกด้วย แต่ทั้งนี้ก็ต้องคำนึงถึงลูกค้าแต่ละรายว่ามีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด ระยะเวลาการให้กู้ วงเงินกู้ ประเภทหรือลักษณะธุรกิจและคุณสมบัติของผู้กู้ที่เป็นประชาชน สถาบันการเงินจะไม่สามรถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดได้

บทที่ 3 ข้อ5 -สำหรับธุรกิจการค้าที่ส่งสินค้าภายในประเทศ สินเชื่อที่ควรจะให้ควรเป็นประเภทสินเชื่อธุรกิจ -สินเชื่อระยะสั้น -สินเชื่อภายในประเทศ และโครงสร้างองค์กรที่กระชับ ไม่ซับซ้อน เนื่องจากสินค้าขายส่งมีปริมาณมาก น้อย รูปแบบโครงสร้างองค์กรอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้า หรือ บริการ หรือภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปตามเศรษกิจ ข้อ8 -การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้เหมาก่อสร้าง(คือการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญา กับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ในกรณีที่ลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น) ผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับคนคนนั้น ธนาคารเองนั้นก็จะตรวจสอบโดยระเอียดของหน่วยงานนั้นๆว่ามีสถานะภาพเป็นอย่างไร แล้วเมื่อผ่านการอนุมัติแล้วผู้รับเหมาไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงของหน่วยงานของผู้ว่าจ้าง ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมดตามที่ได้ตกลงทำสัญญากับผู้รับเหมาไว้ แล้วธนาคารจะไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาเองอิกทอดหนึ่ง บทที่4 ข้อ5 -การกำหนดหลักประกัน เพราะถ้าไม่มีหลักประกันความเสี่ยงจะเกิดกับผู้ให้กู้ เพราะถ้าปล่อยเงินกู้ให้ผู้กู้ไปแล้ว(และผู้กู้ไม่มีหลักประกันในการกู้)ผู้กู้ไม่สามารถชำระเงินคืนได้ผู้ปล่อยกู้จึงมีความเสี่ยงสูงมาก จึงต้องใช้หลักพิจารณาให้รอบคอบเพื่อจะได้มีแนวทางในกรณีที่ผู้กู้ไม่สามารถชำระเงินคืนได้ เพราะฉนั้นหลักประกันหรือผู้ค้ำประกันจะเป็นการเพิ่มเติมหรือเพิ่มความมั่นใจให้กับสถาบันการเงินหรือธนาคาร จึงต้องกำหนดและพิจารณาหลักประกันที่จะนำมาใช้ ข้อ8 -ความแต่กต่างระหว่างดอกเบี้ยธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็ก เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีวงเงินสูง ดอกเบี้ยค่อนข้างสูง ธนาคารขนาดใหญ่จะเหมาะสำหรับผู้ที่กู้ยืมไปลงทุนทำธุรกิจขนาดใหญ่ ส่วนธนาคารขนาดเล็กจะให้ดอกเบี้ยส่วนลดของเครดิต และวงเงินเหมาะสำหรับการทำธุรกิจ SME ธุรกิจที่มีขนาดเล็กหรือกลาง ดอกเบี้ยของธนาคารขนาดเล็ก จะถูกกว่าธนาคารขนาดใหญ่

นางสาวภาณุมาส ภูกองไชย 54127326044

คำถามประจำบทที่ 3

ข้อที่ 5. ในกรณีกิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยข้าพเจ้าคิดว่าควรมีการให้สินเชื่อภายในประเทศ สินเชื่อธุรกิจ และโครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างหน่วยงานการขายทางพื้นที่ภูมิศาตร์

ข้อที่ 8. การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะยังคงได้รับความเสี่ยงอยู่อีกหรือไม่ ข้าพเจ้าคิดว่าจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะในการดำเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้าง ใช้หนังสือค้ำประกัน ทำให้หน่วยงานผู้ว่าจ้างไม่ได้รับความเสี่ยง และการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ถ้าหากลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่งด้วย

คำถามประจำบทที่ 4

ข้อที่ 5. ข้าพเจ้าคิดว่าส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญที่สุดคือ การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ เพราะในการให้สินเชื่อต้องมีการให้สินเชื่อที่เป็นไปอย่างรอบคอบ ให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ควบคุมการเบิกเงินกู้ได้ เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้ ขณะเดียวกันก็ต้องควบคุมการชำระคืนได้ด้วย โดยที่ลูกค้าต้องได้รับวงเงินกู้รวมกับส่วนทุนของลูกค้าเอง แล้วเพียงพอในการทำธุรกิจได้

ข้อที่ 8. เพราะเหตุใด ธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็กจึงให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน ข้าพเจ้าคิดว่า ธนาคารขนาดใหญ่เน้นให้สินเชื่อสำหรับธุรกิจขนาดใหญ่ ดอกเบี้ยก็จะสูงกว่าธนาคารขนาดเล็ก เพราะธนาคารขนาดเล็กเน้นให้สินเชื่อสำหรับธุรกิจขนาดกลางและเล็ก

นางสาว ภคินี สิริชื่นสุวรรณ 54127326037 - ขอบคุณค่ะ -

บทที่3

ข้อ 5  ตอบ  สินเชื่อธุรกิจ ( Business  Credit ) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มา เพื่อใช้ในการทำการค้า  การลงทุน  การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ   สินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค และ สินเชื่อภายในประเทศ  ควรใช้โครงสร้างแบบองค์กรสายงานหลัก  เพื่อให้ได้ผลดีที่สุดในการปฏิบัติงานด้านสินเชื่อ  ควรจะไม่ซับซ้อน  และปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าและภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ข้อ 8  ตอบ  การที่ธนาคารออกหนังสือคำประกัน  ให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงายผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะ การที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับ บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ในกรณีที่ลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ย กับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่ง ดิฉันคิดว่าหน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกันไม่ได้รับความ เสี่ยงหรือความเสี่ยงอาจมีน้อยมากหรือไม่มีเลยเพราะผู้รับเหมาก่อสร้างได้ทำ หนังสือรับรองกับธนาคารไว้แล้ว หากผู้รับเหมาไม่ปฏิบัติตามหรือโกงหน่วยงานของผู้ว่าจ้าง ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมดตามที่ได้ตกลงทำสัญญากับผู้รับเหมาไว้ แล้วธนาคารจะตามไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาเองอิกทอดหนึ่ง

บทที่ 4

ข้อ 5  ตอบ  ส่วนประกอบที่สำคัญที่สุด คือ หลักค้ำประกัน การกำหนดหลักประกัน เป็นที่รู้ๆกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน สถาบันการเงินหรือธนาคารให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญ เบื้องต้น ถึงแม้ลูกค้าจะมีหลักประกันแล้วยังอาจต้องการไห้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้น  หลักค้ำประกันจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ  เพราะ อาจส่งผลกระทบให้วงเงินสินเชื่อที่ธนาคารให้ไป มีความเสี่ยงมากขึ้น ควรจะตรวจสอบเป็นอย่างดี เพื่อลดความเสี่ยงลง
ข้อ 8  ตอบ เพราะธนาคารขนาดใหญ่ มีเงินทุนสำรองที่มากกว่า และมีความสามารถในการให้สินเชื่อกับลูกค้าได้มาก และมีอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่า มีการหมุนเวียนและสภาพคล่องทางการเงิน ที่สูงกว่าธนาคารขนาดเล็ก แต่ถึงอย่างไรการกำหนดอัตราดอกเบี้ย ทั้งธนาคารขาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็ก ก็ไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดได้

บทที่3

ข้อ 3 ตอบ สินเชื่อ

นางสาว เบญจมาศ มีเจริญ

คำถามประจำบทที่ 3 ตอบข้อ 5) ในกรณีที่กิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยเราควรไห้สินเชื่อประเภทของสินเชื่อจากกิจการขายสินค้า สินเชื่อธุรกิจ เป็นสินเชื่อสำหรับกิจการห้างร้าน ห้างหุ้นส่วน ไม่ว่าจะนำไปใช้เพื่อลงทุนเพื่อการผลิต หรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยให้ผู้บริหาร และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ โครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) แต่ละรูปแบบโครงสร้างองค์กรเพื่อไห้ได้ผลดีจะมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าหรือบริการหรือภาวะการณ์ที่เปลี่ยนไป และองค์กรที่ดีจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการ และโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อไห้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกของธุรกิจต่อไป ตอบข้อ 8) การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะไม่ได้รับความเสี่ยง เนื่องจากการที่ธนาคารผูกพันธุ์ตนเองในฐานะผู้ค้ำประกันให้ผู้รับเหมาในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง กรณีที่ผู้รับเหมาผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอก เป็นบริการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับคู่สัญญาของลูกค้า เพื่อเพิ่มความมั่นใจได้ว่า ถ้าลูกค้าไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ธนาคารจะเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหายแทน

คำถามประจำบทที่ 4 ตอบข้อ 5) ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ การกำหนดหลักประกัน ในอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน สถาบันการเงินหรือธนาคารให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ถึงแม้ลูกค้าจะมีหลักประกันแล้วยังอาจต้องการไห้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้น เพราะถ้าขาดหลักประกันอันนี้หรือประเมินหลักประกันต่ำเกินการให้วงเงินสินเชื่อที่ธนาคารให้ไป ธนาคารเองก็อาจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากลูกค้าไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามที่ตกลงกันไว้ ตอบข้อ 8) การกำหนดอัตราดอกเบี้ย ธนาคารขนาดใหญ่และขนาดเล็กจะให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกันเพราะว่าธนาคารขนาดใหญ่จะมีความสามารถสูงในการให้สินเชื่อ สามารถให้สินเชื่อที่มากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีต้นทุนสูงในการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก ส่วนธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนไม่มากเหมือนกับธนาคารขนาดใหญ่จึงไม่สามารถให้สินเชื่อมาๆกับลูกค้าได้และดอกเบี้ยยังสูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่อีกด้วย แต่ทั้งนี้ก็ต้องคำนึงถึงลูกค้าแต่ละรายว่ามีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด ระยะเวลาการให้กู้ วงเงินกู้ ประเภทหรือลักษณะธุรกิจและคุณสมบัติของผู้กู้ที่เป็นประชาชน สถาบันการเงินจะไม่สามรถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดได้ ชื่อ นางสาว เบญจมาศ มีเจริญ รหัสนักศึกษา 54127326002

นางสาวเบญจมาศ จันทราช

นางสาวเบญจมาศ จันทราช 54127326028 การเงินการธนาคาร 01 ปี 2 บทที่ 3 ข้อ 5 1.การให้สินเชื่อธุรกิจ (Business credit) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมต่างๆ 2. การให้สินเชื่อภายในประเทศ โครงสร้างองค์กรควรเป็นแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) ซึ่งสายงานหลักนั้นต้องคำนึงถึงปัจจัยในด้านประเภทธุรกิจด้วยถ้ามีการผลิตสินค้าหลายชนิด องค์กรด้านสินเชื่อก็จะซับซ้อนกว่าการมีสินค้าน้อยชนิด แล้วยังต้องคำนึงถึงด้านขนาดของการให้สินเชื่อ ถ้าเป็นการขายส่ง ฝ่ายขายอาจทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สินเชื่อไปในตัว และคำนึงถึงจำนวนลูกหนี้ ยิ่งมีลูกหนี้มากยิ่งต้องจัดโครงสร้างให้เหมาะสม เป็นระบบ ข้อ 8 ไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะ การที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง ในการปฏิบัติตามสัญญากับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง กรณีที่ผู้รับเหมาก่อสร้างผิดข้อตกลงกับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง ดังนั้นหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ยังไงก็ได้ค่าชดใช้จากธนาคารอยู่แล้วจึงไม่มีความเสี่ยงอะไร การที่ธนาคารจะลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของลูกค้าที่มาขอค้ำประกัน รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขต่างๆให้เหมาะสม บทที่ 4 ข้อ 5 การกำหนดหลักประกัน เพราะเป็นที่ทราบกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน อย่างไรก็ตามสถาบันการเงินหรือธนาคาร ยังคงต้องให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ที่พบบ่อยก็คือ ถึงแม้จะมีหลักประกัน แล้วยังอาจต้องการให้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้นและเพื่อป้องกันความเสี่ยงว่าผู้ขอเงินกู้จะไม่ชำระเงินคืนในเวลาที่ธนาคารกำหนด ถ้าผู้กู้ไม่ชำระเงินคืนในเวลาที่กำหนดหรือไม่ชำระเงินคืนเลย แต่อย่างน้อยธนาคารก็ยังมีหลักประกันเพื่อทีจะชดเชยแทนค่าเงินที่ผู้กู้ได้กู้ยืมไป ข้อ 8 สถาบันการเงินหรือธนาคารจะคิดดอกเบี้ยจากลูกค้าแต่ละรายไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความเสี่ยง ความเสี่ยงส่วนใหญ่มักอยู่ที่ผู้กู้ไม่สามารถชำระคืนได้ จึงต้องพิจารณาให้รอบคอบและแนวทางแก้ไข ปัญหาไว้ล่วงหน้า ความเสี่ยงด้านสุดท้ายก็คือ เรื่องอัตราดอกเบี้ย กรณีที่ให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยคงที่ไปแล้ว ขณะที่ต้นทุนเงินฝากเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดขาดทุนได้ จึงต้องมีการประสานงานที่ดีกับผู้บริหารด้านเงินฝากและการระดมทุนของแต่ละธนาคารด้วย นอกจากด้านความเสี่ยงแล้วยังมี ระยะเวลาการให้กู้ วงเงินกู้ ประเภทหรือลักษณะธุรกิจ และคุณสมบัติของผู้กู้ที่เป็นประชาชน ธนาคารที่ต้องการกำไรมากมักมีความเสี่ยงสูงที่จะปล่อยสินเชื่อให้กับลูกค้าที่มีฐานะและผลประกอบการไม่ดีแต่ได้ดอกเบี้ยอัตราสูง ขณะที่บางธนาคารเน้นความปลอดภัยจึงปล่อยสินเชื่อให้กับลูกค้าฐานะการเงินและผลประกอบการดี แม้ว่าจะได้รับอัตราดอกเบี้ยที่ไม่สูงนัก

นางสาวบุณิกา เมืองทองแก้ว

นางสาวบุณิกา เมืองทองแก้ว 54127326004 การเงินการธนาคาร 01 ปี 2 คำถามประจำบทที่ 3 5.ตอบ 1.สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2. สินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค โครงสร้างองค์กรแบบโครงสร้างหน่วยงานขายตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ 8 ตอบ ข้าพเจ้าคิดว่าอาจจะไม่มีความเสี่ยง เพราะ การที่ผู้รับเหมาได้ให้ธนาคารออกหนังสือคำประกันให้ ธนาคารก็มีทำหนังสือค้ำประกันที่มีการทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร ถ้าผู้รับเหมาเบี้ยวไม่ย่อมทำงานให้เสร็จ โกง ผู้ว่าจ้างก็สามารถไปร้องเรียนกับธนาคารได

คำถามบทที่ 4 5 ตอบ การกำหนดนโยบายการติดตามหนี้อย่างชัดเจน เป็นนโยบายที่สำคัญมาก เพราะหากใช้พราะหากใช้นโยบายใดก็ตามแต่กิจการไม่สามารถเรียกเก็บชำระหนี้ได้จากลูกหนี้ ถือว่าประสบความล้มเหลวทางธุรกิจอย่างสิ้นเชิง ทั้งนี้กิจการต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อลูกค้า ในขณะเดียวกันเราก็ต้องเรียกเก็บหรือเร่งรัดลูกหนี้ชำระหนี้ให้เร็วที่สุด
8ตอบ ธนาคารใหญ่มีเครดิตมากกว่า มีเงินหมุนเวียน มีทุนทรัพย์มากกว่าจึงให้อัตราดอกเบี้ยสูงกว่าธนาคารเล็ก เงินหมุนเวียนน้อย จึงให้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่า สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สินเชื่อการขายสินค้า โครงสร้างองค์กรแบบโครงสร้างหน่วยงานขายตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์

นายฉัตรชัย มาศรังสฤษดิ์

คำถามบทที่ 3

ข้อ 5  ตอบ  

             สินเชื่อธุรกิจ (Business Credit) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อการค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมต่างๆ

             สินเชื่อภายในประเทศ และสินเชื่อระยะสั้น

             โครงสร้างขององค์กรแบบหน้าที่งาน คือ ต้องมีการแบ่งหน้าที่ทำงานเป็นหลัก จะทำงานของตนเองเป็นหลัก โดยมีผู้บังคับบัญชาสั่งการลงมาในระดับล่าง เช่น มีคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงแยกชัดเจน โดยในลักษณะถ่วงดุลอำนาจ และมีความเป็นอิสระ ในระดับปฏิบัติการก็กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่บริหารความเสี่ยง เพื่อช่วยดูแลการบริหารความเสี่ยงในระดับหน่วยงานย่อย 

ข้อ 8  ตอบ 

             การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee :L/G) ให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะว่าเป็นเอกสารที่ออกโดยธนาคารในนามของลูกค้าเพื่อค้ำประกันว่า หากลูกค้าของธนาคารไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในหนังสือค้ำประกันแล้ว ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบชดใช้เงินจำนวนที่ระบุไว้ให้แก่ผู้รับหนังสือค้ำประกันเป็นการชดเชย 

คำถามบทที่ 4

ข้อ 4 ตอบ 

                ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญ คือ กฎหมายและเงื่อนไขต่างๆ เนื่องจากสถาบันการเงินระดมเงินทุนจากประชาชน ไม่ว่าจะเป็นในรูปเงินฝาก หรือ ตั๋วเงิน เพื่อนำไปปล่อยสินเชื่อแก่ภาคธุรกิจ และส่วนบุคคล ซึ่งมีความเสี่ยง ดังนั้นจึงต้องมีการกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ออกมาใช้บังคับ ให้สถาบันการเงินต้องปฏิบัติตาม เพื่อลดโอกาสที่จะต้องเผชิญความเสี่ยงลงให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อปกป้องผู้ฝากเงินหรือประชาชน นั่นเอง

ข้อ 8 ตอบ

                ธนาคารขนาดใหญ่และขนาดเล็กจะไห้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน เพราะว่าธนาคารขนาดใหญ่จะมีความสามารถสูงในการให้สินเชื่อ สามารถให้สินเชื่อที่มากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีต้นทุนสูงในการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก ส่วนธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนไม่มากเหมือนกับธนาคารขนาดใหญ่จึงไม่สามารถให้สินเชื่อครั้งละมากๆให้กับลูกค้าได้และดอกเบี้ยยังสูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่

นายฉัตรชัย มาศรังสฤษดิ์  รหัสนักศึกษา 54127326010

 

นส.จินตนา ชินชงจู 54127326006

                                                                                                                          การเงินการธนาคาร 01

คำถามท้ายบทที่ 3 ข้อที่ 5 ตอบ กิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยควรไห้สินเชื่อประเภท สินเชื่อธุรกิจ ซึ่งเป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ โครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก ข้อที่ 8 ตอบ หน่วยงานที่จ้างงานจะไม่ได้รับความเสี่ยง ในกรณีที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างผิดสัญญากับผู้จ้างงาน ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบตามข้อตกลงที่ได้ทำการค้ำประกันในรูปแบบของหนังสือค้ำประกันไว้ ธนาคารที่จะออกหนังสือค้ำประกันให้กับบริษัทที่จะมาขอทำหนังสือค้ำประกันสามารถพิจารณาจากผลงาน หรือชื่อเสียงที่ผ่านมาได้ และกำหนดเงื่อนไขให้เหมาะสม

คำถามท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 5 ตอบ การติดตามเร่งรัดชำระหนี้ เป็นนโยบายที่ข้าพเจ้าคิดว่าสำคัญที่สุด เพราะหากใช้นโยบายใดก็ตามแต่กิจการไม่สามารถเรียกเก็บชำระหนี้ได้จากลูกหนี้ ถือว่าประสบความล้มเหลวทางธุรกิจอย่างสิ้นเชิง ทั้งนี้กิจการต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อลูกค้า ในขณะเดียวกันก็ต้องเรียกเก็บหรือเร่งรัดชำระหนี้ให้เร็วที่สุด โดยมีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดด้วย ข้อที่ 8 ตอบ ธนาคารใหญ่และธนาคารเล็กจะมีการให้ดอกเบี้ยที่ต่างกัน เนื่องจากธนาคารใหญ่มีทุนสำรองที่มากกว่า มีเงินหมุนเวียนมากกว่า และมีความสามารถในการให้สินเชื่อกับลูกค้ามากกว่า ส่วนธนาคารเล็กมีเงินหมุนเวียนน้อย จึงให้ความสามารถในการให้สินเชื่อกับลูกค้าน้อยกว่าธนาคารใหญ่

นส.จินตนา ชินชงจู 54127326006 การเงินการธนาคาร 01

คำถามท้ายบทที่ 3

ข้อที่ 5  ตอบ  กิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยควรไห้สินเชื่อประเภท สินเชื่อธุรกิจ ซึ่งเป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ โครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก 

ข้อที่ 8  ตอบ  หน่วยงานที่จ้างงานจะไม่ได้รับความเสี่ยง ในกรณีที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างผิดสัญญากับผู้จ้างงาน ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบตามข้อตกลงที่ได้ทำการค้ำประกันในรูปแบบของหนังสือค้ำประกันไว้  ธนาคารที่จะออกหนังสือค้ำประกันให้กับบริษัทที่จะมาขอทำหนังสือค้ำประกันสามารถพิจารณาจากผลงาน หรือชื่อเสียงที่ผ่านมาได้ และกำหนดเงื่อนไขให้เหมาะสม

คำถามท้ายบทที่ 4

 ข้อที่ 5 ตอบ  การติดตามเร่งรัดชำระหนี้ เป็นนโยบายที่ข้าพเจ้าคิดว่าสำคัญที่สุด เพราะหากใช้นโยบายใดก็ตามแต่กิจการไม่สามารถเรียกเก็บชำระหนี้ได้จากลูกหนี้ ถือว่าประสบความล้มเหลวทางธุรกิจอย่างสิ้นเชิง ทั้งนี้กิจการต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อลูกค้า ในขณะเดียวกันก็ต้องเรียกเก็บหรือเร่งรัดชำระหนี้ให้เร็วที่สุด โดยมีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดด้วย

 ข้อที่ 8 ตอบ ธนาคารใหญ่และธนาคารเล็กจะมีการให้ดอกเบี้ยที่ต่างกัน     เนื่องจากธนาคารใหญ่มีทุนสำรองที่มากกว่า  มีเงิน   หมุนเวียนมากกว่า  และมีความสามารถในการให้สินเชื่อกับลูกค้ามากกว่า ส่วนธนาคารเล็กมีเงินหมุนเวียนน้อย  จึงให้ความสามารถในการให้สินเชื่อกับลูกค้าน้อยกว่าธนาคารใหญ่

นายอดุลย์ นารอยี 54127326030 การเงินการธนาคาร 01 ปี 2 บทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ -สินเชื่อธุรกิจ (Business Installment Loan)เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมต่างๆ - สินเชื่อภายในประเทศเป็นสินเชื่อที่สะดวกแก่การให้สินเชื่อแก่กิจการในประเทศสินเชื่อในที่นี้จะแบ่งเป็นวงเงินประเภทต่างๆ เช่น วงเงินกู้ระยะสั้น (Short term Loan : S/T) วงเงินกู้ระยะยาว (Long term Loan : L/T) วงเงินกู้สกุลเงินบาท (Bath Loan) เป็นต้น โครงสร้างองค์กรควรเป็นแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) ซึ่งสายงานหลักนั้นต้องคำนึงถึงปัจจัยในด้านประเภทธุรกิจด้วยถ้ามีการผลิตสินค้าหลายชนิด องค์กรด้านสินเชื่อก็จะซับซ้อนกว่าการมีสินค้าน้อยชนิด แล้วยังต้องคำนึงถึงด้านขนาดของการให้สินเชื่อ ถ้าเป็นการขายส่ง ฝ่ายขายอาจทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สินเชื่อไปในตัว และคำนึงถึงจำนวนลูกหนี้ ยิ่งมีลูกหนี้มากยิ่งต้องจัดโครงสร้างให้เหมาะสม เป็นระบบ ข้อ 8 ตอบ ไม่มีความเสี่ยง เพราะ การที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง ในการปฏิบัติตามสัญญากับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง กรณีที่ผู้รับเหมาก่อสร้างผิดข้อตกลงกับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง
ดังนั้นหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ยังไงก็ได้ค่าชดใช้จากธนาคารอยู่แล้วจึงไม่มีความเสี่ยงอะไร การที่ธนาคารจะลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของลูกค้าที่มาขอค้ำประกัน รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขต่างๆให้เหมาะสม

บทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ การกำหนดหลักประกัน เพราะเป็นที่ทราบกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน อย่างไรก็ตามสถาบันการเงินหรือธนาคาร ยังคงต้องให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ที่พบบ่อยก็คือ ถึงแม้จะมีหลักประกัน แล้วยังอาจต้องการให้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้นและเพื่อป้องกันความเสี่ยง ข้อ 8 ตอบ ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยจากลูกค้าแต่ละรายไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความเสี่ยง ความเสี่ยงส่วนใหญ่มักอยู่ที่ผู้กู้ไม่สามารถชำระคืนได้ จึงต้องพิจารณาให้รอบคอบและแนวทางแก้ไข ปัญหาไว้ล่วงหน้า ความเสี่ยงด้านสุดท้ายก็คือ เรื่องอัตราดอกเบี้ย กรณีที่ให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยคงที่ไปแล้ว ขณะที่ต้นทุนเงินฝากเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดขาดทุนได้ จึงต้องมีการประสานงานที่ดีกับผู้บริหารด้านเงินฝากและการระดมทุนของแต่ละธนาคารด้วย

การเงินการธนาคาร 01

บทที่ 3 ข้อ 5 ประเภทเงินกู้ระยะสั้นเพื่อการผลิต เพื่อให้เป็นค่าใช้จ่ายในการผลิต การขนส่ง การติดต่อลูกค้าและอื่นๆ
โครงสร้างขององค์กร ผู้ตรวจสอบบัญชี สายงานการตรวจสอบ ฝ่ายประสานงานกฎหมาย ฝ่ายระเบียบปฏิบัติการ ฝ่ายตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการธนาคารคณะกรรมการตรวจสอบ สายงานบริหารเครดิต สายงานระบบ สายงานธุรกิจบุคคล สายงานธุรกิจขนาดใหญ่ สายงานบริหารความเสี่ยง
ซึ่งสายงานทั้งหมดนี้ ต้องมีการบริหารที่เป้นระบบและปฏิบัติงานร่วมกัน ข้อ 8 การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง ผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน ยังไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะหากเกิดข้อผิดพลาดอย่างใดอย่างหนึ่ง หน่วยงานของผู้ว่าจ้างก็ต้องมีการรับผิดชอบอยู่ดี เพราะในการว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างต้องมีความน่าเชื่อถือ หากเกิดความผิดพลาดผู้ว่าจ้างต้องมีความเสีบหาย จึงต้องยอมรับต่อภาะวะที่จะเกิดขึ้น

บทที่ 4 ข้อที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของการให้สินเชื่อที่สำคัญที่สุดคือ การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อในการเป็นหลักค้ำประกัน เพราะการจะให้สินเชื่อต้องตรวจสอบเครดิตก่อน ว่าหากอนุมัติแล้วจะไม่เกิดความเสี่ยง ควบคุมวงเงินกู้ ตรวจสอบอย่างรอบคอบ ต้องควบคุมการชำระคืนได้ด้วย ในการปล่อยสินเชื่อต้องมีมีการตรวจสอบ และได้รับอนุมัติแล้ว หลักค้ำประกันและเงื่อนไขต้องมีการตกลงอย่างรอบคอบ และเหมาะสมแก่วงเงินที่ให้สินเชื่อ เพราะการให้สินเชื่อต้องมีความเสี่ยงในระดับหนึ่ง จึงต้องมีเงื่อนไข

ข้อที่ 8 การให้สินเชื่อของธนาคารใหญ่และธนาคารเล็กจะมีการให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน เพราะ ธนาคารขนาดเล็กมีจำนวนลูกค้าที่น้อยกว่า และมีหลักค้ำประกันที่น้อยกว่า แต่ธนาคารขาดใหญ่มีลูกค้าและหลักประกันที่สูงพอแล้ว จึงไม่กลัวที่จะเจอกับสุดเสี่ยงหนักๆ หากเกิดก็มีผลกำไรพออยู่แล้ว จึงคิดอัตราดอกเบี้ยที่น้อยกว่าธนาคารขนาดเล็ก ที่คิดอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่านั่นเอง

การเงินการธนาคาร 01 รหัส 54127326026

นางสาว อาภารัตน์ อรุณเรือง

นางสาว อาภารัตน์ อรุณเรือง การเงินการธนาคาร 01 ปี 2 บทที่ 3 ข้อ 5
ตอบ -สินเชื่อธุรกิจ (Business Installment Loan) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมต่างๆ - สินเชื่อภายในประเทศเป็นสินเชื่อที่สะดวกแก่การให้สินเชื่อแก่กิจการในประเทศสินเชื่อในที่นี้จะแบ่งเป็นวงเงินประเภทต่างๆ เช่น วงเงินกู้ระยะสั้น (Short term Loan : S/T) วงเงินกู้ระยะยาว (Long term Loan : L/T) วงเงินกู้สกุลเงินบาท (Bath Loan) เป็นต้น โครงสร้างองค์กรควรเป็นแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) ซึ่งสายงานหลักนั้นต้องคำนึงถึงปัจจัยในด้านประเภทธุรกิจด้วยถ้ามีการผลิตสินค้าหลายชนิด องค์กรด้านสินเชื่อก็จะซับซ้อนกว่าการมีสินค้าน้อยชนิด แล้วยังต้องคำนึงถึงด้านขนาดของการให้สินเชื่อ ถ้าเป็นการขายส่ง ฝ่ายขายอาจทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สินเชื่อไปในตัว และคำนึงถึงจำนวนลูกหนี้ ยิ่งมีลูกหนี้มากยิ่งต้องจัดโครงสร้างให้เหมาะสม เป็นระบบ ข้อ 8
ตอบ ไม่มีความเสี่ยง เพราะ การที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง ในการปฏิบัติตามสัญญากับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง กรณีที่ผู้รับเหมาก่อสร้างผิดข้อตกลงกับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง
ดังนั้นหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ยังไงก็ได้ค่าชดใช้จากธนาคารอยู่แล้วจึงไม่มีความเสี่ยงอะไร การที่ธนาคารจะลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของลูกค้าที่มาขอค้ำประกัน รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขต่างๆให้เหมาะสม

บทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ การกำหนดหลักประกัน เพราะเป็นที่ทราบกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน อย่างไรก็ตามสถาบันการเงินหรือธนาคาร ยังคงต้องให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ที่พบบ่อยก็คือ ถึงแม้จะมีหลักประกัน แล้วยังอาจต้องการให้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้นและเพื่อป้องกันความเสี่ยง ข้อ 8
ตอบ ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยจากลูกค้าแต่ละรายไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความเสี่ยง ความเสี่ยงส่วนใหญ่มักอยู่ที่ผู้กู้ไม่สามารถชำระคืนได้ จึงต้องพิจารณาให้รอบคอบและแนวทางแก้ไข ปัญหาไว้ล่วงหน้า ความเสี่ยงด้านสุดท้ายก็คือ เรื่องอัตราดอกเบี้ย กรณีที่ให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยคงที่ไปแล้ว ขณะที่ต้นทุนเงินฝากเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดขาดทุนได้ จึงต้องมีการประสานงานที่ดีกับผู้บริหารด้านเงินฝากและการระดมทุนของแต่ละธนาคารด้วย

นางสาวพิมลวรรณ เทิดสุธาธรรม

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ ในการส่งสินค้าที่ขายไปทุกภูมิภาคของประเทศไทย ดิฉันมีความคิดเห็นว่า ควรมีการให้สินเชื่อประเภท สินเชื่อธุรกิจ และ สินเชื่อภายในประเทศ ควรมีโครงสร้างองค์กรที่เป็นไปอย่างมีแบบแผนและเรียบง่าย ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย เพื่อให้มีเงินหมุนเวียนจากการขายสินค้าภายในประเทศมากยิ่งขึ้น จะได้ทัดเทียมกับประเทศคู่แข่งขันทางเศรษฐกิจต่อไป ข้อ 8 ตอบ การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างนั้น หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะไม่ได้รับความเสี่ยงอีกต่อไป เพราะ การที่ธนาคารใช้หนังสือค้ำประกันนั้นจะช่วยลดความเสี่ยงจากข้อผิดพลาดในการดำเนินงาน และหนังสือค้ำประกันนี้ยังมีข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษร ถูกต้อง แม่นยำ และมีเงื่อนไขข้อตกลงต่างๆ ที่ทั้ง 2 ฝ่ายต้องยอมรับซึ่งกันและกัน จึงลดความเสี่ยงจากข้อผิดพลาดใดๆทั้งสิ้นได้ คำถามประจำบทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญ มีหลากหลายประเภท ดิฉันจึงมีความคิดเห็นว่า การกำหนดหลักปะกัน มีความสำคัญที่สุด เพราะ เมื่อมีการให้สินเชื่อแล้วนั้น ไม่ว่าจะเป็นสังหาริมทรัพย์ หรืออสังหาริมทรัพย์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน และถึงแม้จะมีสังริมทรัพย์ หรือ อสังหาริมทรัพย์ ในการเป็นหลักการค้ำประกันแล้วนั้น ยังอาจต้องการให้มีบุคคลที่เชื่อถือได้เข้ามาค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มความมั่นใจมากยิ่งขึ้นอีกด้วย ข้อ 8 ตอบ ธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็ก มีการให้สินเชื่อในอัตราที่ต่างกัน เพราะ ธนาคารขนาดใหญ่ และธนาคารขนาดเล็ก ต่างก็มีเงินระดมทุนที่ต่างกันไป ธนาคารขนาดใหญ่มีกองทุนที่ระดมทุนปล่อยสินเชื่อมาก จึงมีความเสี่ยงต่ำ ส่วน ธนาคารที่มีขนาดเล็กนั้น จะมีกองทุนที่ระดมทุนปล่อยสินเชื่อที่น้อยกว่า จึงมีความเสี่ยงที่สูงกว่าธนาคารที่มีขนาดใหญ่

นางสาว พิมลวรรณ เทิดสุธาธรรม 54127326005

นางสาว ปรียารัตน์ ศรีจันทะ

คำถามบทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ

         สินเชื่อธุรกิจ (Business Credit) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อการค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมต่างๆสินเชื่อภายในประเทศ และสินเชื่อระยะสั้น  

โครงสร้างขององค์กรแบบหน้าที่งาน คือ ต้องมีการแบ่งหน้าที่ทำงานเป็นหลัก จะทำงานของตนเองเป็นหลัก โดยมีผู้บังคับบัญชาสั่งการลงมาในระดับล่าง เช่น มีคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงแยกชัดเจน โดยในลักษณะถ่วงดุลอำนาจ และมีความเป็นอิสระ ในระดับปฏิบัติการก็กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่บริหารความเสี่ยง เพื่อช่วยดูแลการบริหารความเสี่ยงในระดับหน่วยงานย่อย ข้อ 8 ตอบ การออกหนังสือค้ำประกัน ( Letter of Guarantee : L/G ) คือการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ในกรณีที่ลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่ง ดิฉันคิดว่าหน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกันไม่ได้รับความเสี่ยงหรือความเสี่ยงอาจมีน้อยมากหรือไม่มีเลยเพราะผู้รับเหมาก่อสร้างได้ทำหนังสือรับรองกับธนาคารไว้แล้ว หากผู้รับเหมาไม่ปฏิบัติตามหรือโกงหน่วยงานของผู้ว่าจ้าง ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมดตามที่ได้ตกลงทำสัญญากับผู้รับเหมาไว้ แล้วธนาคารจะตามไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาเองอิกทอดหนึ่ง

คำถามบทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ การบริหารความเสี่ยง (RISK MANAGEMENT) น่าจะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะธุรกิจธนาคาร เป็นธุรกิจที่เกิดขึ้นจากการบริการความเสี่ยงเป็นหัวใจสำคัญ ฉะนั้นถ้าสามารถลดความเสี่ยงลงได้มากเท่าไร ก็จะมีสถานะมั่นคงมากเท่านั้น และควรคำนึงถึงด้วยว่า ถ้าเสี่ยงมาก ควรได้รับผลตอบแทนมาก ถ้าเสี่ยงน้อย ผลตอบแทนน้อย ก็ไม่เป็นไร การบริหารความเสี่ยง มีประเด็นที่ต้องคำนึงถึง คือ GOOD QUANLITY OF ASSET คือ การบริหารสินทรัพย์ที่มีคุณภาพดี เลือกลงทุนให้ธุรกิจที่มีผลตอบแทนสูง สินเชื่อที่ธนาคารปล่อยก็ถือว่าเป็นสินทรัพย์ด้วย ฉะนั้น การปล่อยสินเชื่อที่ดี ก็จะสามารถลดความเสี่ยงได้ INDUSTRIAL DISTRIBUTION คือ การกระจายสัดส่วนสินเชื่อใน PORTFOLIO ไปตามประเภทของธุรกิจต่าง ๆ ไม่ควรปล่อยสินเชื่อธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งมากจนเกินไป หากธุรกิจนั้น ๆ มีปัญหา ผลกระทบก็จะรุนแรงตามไปด้วย และความเสี่ยงนั้นคือเหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอนซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบ ความเสี่ยงนั้นสามารถที่จะเกิดขึ้นได้เสมอถ้าแผนธุรกิจไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ การควบคุมกิจการไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ตามที่คาดหวัง การที่ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์อันเหมาะสมอย่างเพียงพอต่อองค์กร การผลิตสินค้าตามที่ไม่ได้ความต้องการ ความผิดพลาดของข้อมูล เป็นต้น และความไม่แน่นอนทางธุรกิจนี้เป็นเสมือนดาบสองคม คืออาจก่อให้เกิดผลลัพธ์ในทางบวกซึ่งเป็นการให้โอกาสแก่องค์กร หรืออาจก่อให้เกิดผลลัพธ์ในทางลบซึ่งถือว่าเป็นความเสี่ยง ดังนั้นจึง เป็นสิ่งที่ท้าทายผู้บริหาร ให้ต้องสามารถใช้โอกาสให้เป็นประโยชน์ในการกำหนดกลยุทธ์องค์กร หรือการกำหนดความเสี่ยงที่เหมาะสมที่องค์กรนั้นสามารถที่จะยอมรับได้ ข้อ 8 ตอบ

            ธนาคารขนาดใหญ่และขนาดเล็กจะไห้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน เพราะว่าธนาคารขนาดใหญ่จะมีความสามารถสูงในการให้สินเชื่อ สามารถให้สินเชื่อที่มากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีต้นทุนสูงในการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก ส่วนธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนไม่มากเหมือนกับธนาคารขนาดใหญ่จึงไม่สามารถให้สินเชื่อครั้งละมากๆให้กับลูกค้าได้และดอกเบี้ยยังสูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่
ทิพย์วิมล เที่ยนเทศ

นางสาวทิพย์วิมล เทียนเทศ 54127326041 สาขาการเงินการธนาคาร 01

คำถามท้ายบทที่ 3 ข้อที่ 5 ตอบ สินเชื่อธุรกิจ ( Business Credit ) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มา เพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ สินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค และ สินเชื่อภายในประเทศ ควรใช้โครงสร้างแบบองค์กรสายงานหลัก เพื่อให้ได้ผลดีที่สุดในการปฏิบัติงาน ข้อที่ 8 ตอบ ข้าพเจ้าคิดว่าจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ใช้หนังสือค้ำประกัน ทำให้หน่วยงานผู้ว่าจ้างไม่ได้รับความเสี่ยง และการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ถ้าหากลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่งด้วย

คำถามท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 5 ตอบ การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ เพราะต้องให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ และตรงตามเงื่อนไขต่างๆ ซึ่งเงื่อนไขต่างๆนั้นจะเป็นตัวกำหนดส่วนประกอบอื่นๆต่อไปตามมาให้อยู่ในขอบเขตของกฎหมายและเงื่อนไขที่ได้กำหนดนั้นอย่างแน่นอน ข้อที่ 8 ตอบ ธนาคารเล็กจะมีความเสี่ยงมากกว่าธนาคารใหญ่ ธนาคารเล็กและธนาคารใหญ่จะมีการคิดดอกเบี้ยจากลูกค้าแต่ละรายไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความเสี่ยง ระยะเวลาในการให้กู้ วงเงินกู้ ประเภทหรือลักษณะธุรกิจของลูกค้า

นางสาว ณิชนารา บุญจนานนท์

คำถามบทที่ 3 ข้อ 5 ตอบ ในกรณีที่กิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยเราควรไห้สินเชื่อประเภทของสินเชื่อจากกิจการขายสินค้า สินเชื่อธุรกิจ ( Business Credit ) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ และสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ โครงสร้างองค์กรควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) แต่ละรูปแบบโครงสร้างองค์กรเพื่อไห้ได้ผลดีจะมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าหรือบริการหรือภาวะการณ์ที่เปลี่ยนไป และองค์กรที่ดีจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการ และโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อไห้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกของธุรกิจต่อไป ข้อ 8 ตอบ

         การที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee :L/G) ให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะว่าเป็นเอกสารที่ออกโดยธนาคารในนามของลูกค้าเพื่อค้ำประกันว่า หากลูกค้าของธนาคารไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในหนังสือค้ำประกันแล้ว ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบชดใช้เงินจำนวนที่ระบุไว้ให้แก่ผู้รับหนังสือค้ำประกันเป็นการชดเชย 

คำถามบทที่ 4 ข้อ 5 ตอบ ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ การกำหนดหลักประกัน เป็นที่รู้ๆกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน สถาบันการเงินหรือธนาคารให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ถึงแม้ลูกค้าจะมีหลักประกันแล้วยังอาจต้องการไห้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้น เพราะถ้าขาดหลักประกันอันนี้หรือประเมินหลักประกันต่ำเกินการให้วงเงินสินเชื่อที่ธนาคารให้ไป ธนาคารเองก็อาจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากลูกค้าไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามที่ตกลงกันไว้ ดั้งนั้นเราควรให้ความสำคัญกับหลักประกันเป็นอย่างมาก ควรตรวจสอบหลักประกันเป็นอย่างดีเพื่อจะได้ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ข้อ 8. ตอบ ธนาคารขนาดใหญ่ จะให้ดอกเบี้ยที่สูงมีวงเงินมากและเยอะกว่าธนาคารขนาดเล็ก และธนาคารใหญ่นี้จะมีการเพิ่มประสิทธิภาพ มาตรฐานและความรวดเร็วในการให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการทางการเงินให้กับลูกค้า ธนาคารขนาดใหญ่นี้มีไว้สำหรับประชาชนที่จะกู้ยืมไปลงทุนทำธุรกิจขนาดใหญ่ ธนาคารขนาดเล็ก จะให้ดอกเบี้ยส่วนสดของเครดิตและวงเงินอยู่ที่ขั้นต่ำเหมาะสำหรับประชาชนที่ทำธุรกิจ sme หรือธุรกิจที่มีขนาดเล็ก และดอกเบี้ยของธนาคารขนาดเล็กนี้จะไม่ดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละของ MRR ต่อปี ธนาคารขนาดเล็กนั้นก็จะมีความเสี่ยงในธุรกิจคือถ้ายิ่งใหญ่ก็จะยิ่งบริหารงานช้าแล้วถ้าเกิดเหตุอะไรที่กะทันหันก็มักจะทำงานนั้นไม่ทัน ธนาคารขนาดเล็กนี้นอกจากความช่วยเหลือด้านการเงินเป็นพิเศษแล้ว ยังร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น และช่วยเหลือผู้ประกอบการอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้งในเชิงรุกและเชิงรับให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ

คำถามประจำบทที่ 3 5.ในกรณีกิจการค้าส่งขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยท่านคิดว่าควรมีการให้สินเชื่อประเภทใดบ้างและโครงสร้างองค์กรควรเป็นอย่างไร ตอบ ดิฉันคิดว่าควรให้สินเชื่อระยะสั้น เพราะการส่งสินค้านั้นมันมีหลายประเภท สินค้าไม่ได้ส่งแค่เพียงชนิดเดียว ดังนั้นโครงสร้างขององค์กรควรจะไม่มีการซับซ้อนมากเกินไป 8. ท่านคิดว่าการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะยังคงได้รับความเสี่ยงอยู่อีกหรือไม่ จงอภิปราย ตอบ ดิฉันคิดว่าน่าจะลดความเสี่ยงลงได้บ้าง เพราะถ้าผู้รับเหมามีการผิดสัญญากับผู้ว่าจ้าง ก็ยังสามารถไปเรียกร้องกับธนาคารที่ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาให้มารับผิดชอบแทนได้ตามที่ได้ค้ำประกันไว้ในสัญญา แล้วธนาคารก็สามารถไปเรียกเก็บกับผู้รับเหมาได้ คำถามประจำบทที่ 4 5.ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญมีหลายอย่าง ท่านคิดว่าส่วนประกอบใดที่สำคัญที่สุด เพราะเหตุใด 1. ข้อมูลส่วนตัวของผู้ขอสินเชื่อ ซึ่งประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล เพศ สถานภาพสมรส อาชีพ รายได้ หลักทรัพย์ที่มีแหล่ง ที่อยู่อาศัย ภาระหนี้ และประเภทหนี้ ตลอดจนวัตถุประสงค์ในการขอสินเชื่อ ซึ่งผู้ขอสินเชื่อต้องกรอกตามความเป็นจริง ในใบสมัครขอสินเชื่อ 2. ประวัติการขอสินเชื่อ และประวัติการชำระหนี้ของผู้ขอสินเชื่อ หรือที่เรียกว่าข้อมูลเครดิต โดยสถาบันการเงินจะตรวจสอบข้อมูลจากบริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด 3. นโยบายการให้สินเชื่อของแต่ละสถาบันการเงิน เช่น ต้องการบุกตลาดสินเชื่อรายย่อย รายกลาง SME หรือรายใหญ่ เป็นต้น ตลอดจนเครื่องมือ วิธีการและขั้นตอนการพิจารณาสินเชื่อที่แตกต่างกันไปในแต่ละสถาบันการเงิน 4. ปัจจัยภายนอกต่าง ๆ เช่น สภาวะเศรษฐกิจ ณ ขณะนั้น ซึ่งอาจส่งผลต่ออาชีพของผู้ขอสินเชื่อ หรือเงื่อนเวลาในการ ชำระหนี้ของผู้ขอสินเชื่อได้

8.เพราะเหตุใด ธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็กจึงให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน ตอบ เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีเงินทุนมากกว่าธนาคารขนาดเล็กและสามารถปล่อยสินเชื่อให้กลับลูกค้าได้มากกว่าและสามารถให้อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก

สุรัชดา ธรรมสวัสดิ์

คำถามท้ายบทที่ 3

ข้อ 5 ในกรณีที่กิจการค้าส่งที่ขายไปยังภูมิภาคของประเทศไทยควรให้สินเชื่อประเภทสินเชื่อธุรกิจ (Business Installment Loan) ซึ่งเป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มาเพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมต่างๆ และสินเชื่อภายในประเทศ ซึ่งวงเงินที่เหมาะสมจะให้สินเชื่อแก่กิจการนี้ ได้แก่ วงเงินกู้ระยะสั้น (Short term Loan : S/T) วงเงินกู้สกุลเงินบาท (Bath Loan) เป็นต้น โดยโครงสร้างองค์กรควรเป็นแบบสายงานหลัก ( The Line Form of Structure ) ซึ่งสายงานหลักนั้นต้องคำนึงถึงปัจจัยในด้านประเภทธุรกิจด้วยถ้ามีการผลิต สินค้าหลายชนิด องค์กรด้านสินเชื่อก็จะซับซ้อนกว่าการมีสินค้าน้อยชนิด แล้วยังต้องคำนึงถึงด้านขนาดของการให้สินเชื่อ ถ้าเป็นการขายส่ง ฝ่ายขายอาจทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สินเชื่อไปในตัว และคำนึงถึงจำนวนลูกหนี้ ยิ่งมีลูกหนี้มากยิ่งต้องจัดโครงสร้างให้เหมาะสม เป็นระบบโดยโครงสร้างองค์กรควรกระชับ และมีปริมาณรายการสินค้าน้อย และควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงสร้าง สินค้าหรือบริการหรือภาวะการณ์ที่เปลี่ยนไป และองค์กรที่ดีควรจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการและโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อให้เหมาะสมกับภาวะการแข่งขันในโลกธุรกิจ

ข้อ 8 ในการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำระกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะไม่ได้รับความเสี่ยง เนื่องจากธนาคารได้ผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง ในการปฏิบัติตามสัญญากับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง กรณีที่ผู้รับเหมาก่อสร้างผิดข้อตกลงกับหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่ เบี้ยกับผู้รับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง ดังนั้นหน่วยงานผู้ว่าจ้าง ยังไงก็ได้ค่าชดใช้จากธนาคารอยู่แล้วจึงไม่มีความเสี่ยงอะไร การที่ธนาคารจะลดความเสี่ยงได้โดยพิจารณาจากผลงานหรือชื่อเสียงในอดีตของ ลูกค้าที่มาขอค้ำประกัน รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขต่างๆให้เหมาะสม

คำถามท้ายบทที่ 4

ข้อ 5 ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่มีความสำคัญที่สุด คือ การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ เพราะผู้ให้สินเชื่อต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ต้องเป็นไปด้วยความรอบคอบ ควบคุมการเบิกเงินกู้ได้เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้ และต้องควบคุมการชำระคืนได้ด้วย เพราะโดยความเสี่ยงส่วนใหญ่มักอยู่ที่ผู้กู้ไม่สามารถชำระคืนได้

ข้อ 8 เหตุผลที่ธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็กมีอัตราดอกเบี้ยที่แตกต่างกัน เพราะว่า ธนาคารที่มีขนาดใหญ่มักมีสภาพทางการเงินที่ดี มีสภาพคล่องสูง มีเงินทุนสำรอง มีต้นทุนสูงมากกว่าธนาคารขนาดเล็ก และธนาคารขนาดใหญ่มีการให้สินเชื่อที่สูงกว่าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าเพื่อ รักษาสภาพคล่องของธนาคารให้คงที่ แต่ทั้งนี้จะไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทย กำหนดไว้ได้

นางสาวอรสา รักไร่

คำถามบทที่ 3 ข้อ 5 ในกรณีกิจการค้าส่งที่ขายไปยังภูมิภาคของประเทศไทยคิดว่าควรมีการให้ สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อระยะสั้น สินเชื่อภายในประเทศ เนื่องจากสินค้าขายส่งส่วนมากจะเป็นสินค้าน้อยชนิด จัดกลุ่มลูกค้าตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ ลักษณะการซื้อ หรือ ตามภูมิศาสตร์และให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและสภาพของสินค้า และบริการ ข้อ 8 จะช่วยลดความเสี่ยงลงได้ เพราะการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้ผู้รับเหมาในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง กรณีที่ผู้รับเหมาผิดข้อตกลงกับบุคคลอื่นธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับผู้รับเหมาได้ คำถามบทที่ 4 ข้อ 5 ส่วนที่สำคัญที่สุด คือ การกำหนดหลักประกัน เพราะมีความเสี่ยงสูงมาก จึงต้องใช้หลักพิจารณาให้รอบคอบเพื่อที่จะได้มีแนวทางแก้ไขปัญหาในกรณีที่ไม่สามารถชำระคืนได้ ข้อ 8 ตอบ เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีเงินทุนมากกว่าธนาคารขนาดเล็กจึงทำให้สินเชื่อของธนาคารขนาดใหญ่จึงมีอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก

นางสาวหทัยรัตน์ สีหาวัตร

นางสาวหทัยรัตน์  สีหาวัตร  รหัสนักศึกษา 54127326019 ปี 2 สาขา บริหารธุรกิจ ( การเงินการธนาคาร ) หมู่ 001


คำถามประจำบทที่  3

ข้อ 5   ตอบ    สินเชื่อธุรกิจ  ( Business   Credit ) เป็นสินเชื่อที่องค์กรธุรกิจกู้มา เพื่อใช้ในการทำการค้า การลงทุน การอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ สินเชื่อสาขาในแต่ละภูมิภาค และ สินเชื่อภายในประเทศ ควรใช้โครงสร้าง มีระบบอย่างมีประสิทธิภาพ โครงสร้างขององค์กรแบบหน้าที่งาน คือ ต้องมีการแบ่งหน้าที่ทำงานเป็นหลัก จะทำงานของตนเองเป็นหลัก โดยมีผู้บังคับบัญชาสั่งการลงมาในระดับล่าง เช่น มีคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงแยกชัดเจน โดยในลักษณะถ่วงดุลอำนาจ และมีความเป็นอิสระ ในระดับปฏิบัติการก็กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่บริหารความเสี่ยง เพื่อช่วยดูแลการบริหารความเสี่ยงในระดับหน่วยงานย่อยเพื่อให้ได้ผลดีที่สุดในการปฏิบัติงาน

 

ข้อ  8    ตอบ   ข้าพเจ้าคิดว่าจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะธนาคารได้ออกหนังสือค้ำประกันขึ้น  เป็นการบ่งบอกถึงความมั่นคง มีหลักฐาน สามารถใช้เป็นหลักประกันความเสี่ยงได้  ถ้าหากผู้รับเหมาผิดสัญญา  หน่วยงานผู้ว่าจ้างสามารถเอาผิดทางกฎหมายได้  จึงทำให้ไม่ได้รับความเสี่ยง และการที่ธนาคารผูกพันตนในฐานะผู้ค้ำประกันให้ลูกค้าในการปฏิบัติตามสัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ถ้าหากลูกค้าผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอกนั้น ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันและสามารถไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่งด้วย

คำถามประจำบทที่   4

ข้อ 5   ตอบ  ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ การกำหนดหลักประกัน เป็นที่รู้ๆกันดีว่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร และสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องจักร รถยนต์ เป็นที่ต้องการนำมาใช้เป็นหลักประกัน สถาบันการเงินหรือธนาคารให้ความสำคัญกับธุรกิจหรือโครงการเป็นประเภทสำคัญเบื้องต้น ถึงแม้ลูกค้าจะมีหลักประกันแล้วยังอาจต้องการไห้มีบุคคลค้ำประกันเพิ่มเติม เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้น เพราะถ้าขาดหลักประกันอันนี้หรือประเมินหลักประกันต่ำเกินการให้วงเงินสินเชื่อที่ธนาคารให้ไป ธนาคารเองก็อาจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากลูกค้าไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามที่ตกลงกันไว้ ดั้งนั้นเราควรให้ความสำคัญกับหลักประกันเป็นอย่างมาก

ข้อ 8  ตอบ  เพราะธนาคารขนาดใหญ่จะมีความสามารถสูงในการให้สินเชื่อ สามารถให้สินเชื่อที่มากกว่าธนาคารขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีต้นทุนสูงในการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธนาคารขนาดเล็ก ส่วนธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนไม่มากเหมือนกับธนาคารขนาดใหญ่จึงไม่สามารถให้สินเชื่อครั้งละมากๆให้กับลูกค้าได้และดอกเบี้ยยังสูงกว่าธนาคารขนาดใหญ่

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5. ในกรณีกิจการค้าส่งที่ขายไปยังทุกภูมิภาคของประเทศไทยท่านคิดว่าควรมีการให้สินเชื่อประเภทใดบ้าง และโครงสร้างองค์กรควรเป็นอย่างไร ตอบ ควรมีการให้สินเชื่อประเภท สินเชื่อด้านธุรกิจ สินเชื่อระยะสั้น และสินเชื่อภายในประเทศโครงสร้างภายในองค์กรควรเป็นโครงสร้างที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก แต่ละรูปแบบโครงสร้างองค์กร เพื่อไห้ได้รับผลดีจะต้องมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าหรือบริการที่วางไว้ และองค์กรที่ดีจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการ และโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อไห้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกของธุรกิจต่อไป

ข้อ 8. ท่านคิดว่าการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับผู้รับเหมาก่อสร้าง หน่วยงาน ผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกัน จะยังคงได้รับความเสี่ยงอยู่อีกหรือไม่ จงอภิปราย ตอบ หน่วยงานผู้ว่าจ้างที่ได้รับหนังสือค้ำประกันจะไม่ได้รับความเสี่ยง เพราะถ้าบริษัทรับเหมาก่อสร้างผิดสัญญากับหน่วยงานผู้จ้างนั้น ธนาคารมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้หน่วยงานผู้ว่าจ้างแทนผู้รับเหมาก่อสร้างตามเงื่อนไขที่ได้ค้ำประกันแต่ธนาคารต้องไล่เบี้ยกับบริษัทรับเหมาก่อสร้างได้อีกทอดหนึ่ง

คำถามประจำบทที่ 4 ข้อ 5. ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อที่สำคัญมีหลายอย่าง ท่านคิดว่าส่วนประกอบใดสำคัญที่สุด เพราะเหตุใด ตอบ การกำหนดเงื่อนไขและวงเงินสินเชื่อ เพราะให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ต้องมีความรอบคอบ ดูแลการเบิกเงินกู้เพื่อให้ลูกค้านำเงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการกู้ แล้วก็ต้องควบคุมการชำระคืนได้คืน โดยที่ลูกค้าต้องได้รับวงเงินกู้รวมกับส่วนทุนของลูกค้า

ข้อ 8. เพราะเหตุใด ธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็กจึงให้สินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน ตอบ ธนาคารขนาดใหญ่มักมีเงินทุนสำรอง และมีสภาพคล่องทางการเงินที่สูงมากกว่าธนาคาร ขนาดเล็กจึงให้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าเพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารให้คงที่ แต่ไม่สามรถกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงเกินกว่าแห่งประเทศไทยกำหนด

นางสาวกนกพร ธรรมศิริ รหัสนักศึกษา 54127326022 สาขา การเงินการธนาคาร

นางสาาว ขนิษฐา เอกแก้ว

คำถามประจำบทที่ 3 ข้อ 5 ควรมีการให้สินเชื่อประเภท สินเชื่อด้านธุรกิจ สินเชื่อระยะสั้น และสินเชื่อภายในประเทศ โครงสร้างภายในองค์กรควรเป็นโครงสร้างที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ควรเป็นโครงสร้างองค์กรแบบสายงานหลัก แต่ละรูปแบบโครงสร้างองค์กร เพื่อไห้ได้รับผลดีจะต้องมีการปรับเปลี่ยนได้ตามสินค้าหรือบริการที่วางไว้ และองค์กรที่ดีจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งสินค้า บริการ และโครงสร้างองค์กรอยู่เสมอ เพื่อไห้เหมาะสมกับภาวการณ์แข่งขันในโลกของธุรกิจต่อไป

ข้อ 8 คิดว่าการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้แก่ผู้รับเหมาก่อสร้าง เมื่อหน่วยงานนั้นได้รับ หนังสือค้ำประกันไปจะไม่ได้รับความเสี่ยงอีก ถ้าในกรณีที่เกิดลูกค้าผิดข้อตกลงกันกับผู้ว่าจ้างนั้น ธนาคารจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้แต่ธนาคารสามารถเรียกไล่เบี้ยกับลูกค้าได้อีกทอดหนึ่ง ดังนั้นธนาคารจะต้องกำหนดเงื่อนไขต่างๆ ให้เหมาะสม

คำถามประจำบทที่ 4 ข้อ 5 ส่วนประกอบด้านความเสี่ยงในการให้สินเชื่อ เพราะการให้สินเชื่อในแต่ละครั้งต้องพิจารณาถึงเหตุผลหลายประการ ต้องมีการตรวจสอบให้รอบคอบว่า บุคคลนี้ควรให้สินเชื่อหรือไม่ มีสภาพคล่องแค่ไหน น่าเชื่อถือได้หรือป่าว จึงทำให้มีความเสี่ยงในการที่ลูกหนี้จะไม่ยอมชำระหนี้ในระยะเวลาที่กำหนดสูงมาก ดังนั้นธนาคารจึงต้องให้ลูกหนี้มีหลักทรัพย์ค้ำประกันในการให้สินเชื่อแต่ละบุคคล ข้อ 8 เพราะธนาคารขนาดใหญ่มักมีเงินสำรองและมีสภาพคล่องทางการเงินมีวงเงินมากกว่าธนาคารที่มีขนาดเล็ก จึงสามารถให้วงเงินดอกเบี้ยแก่ลูกค้าได้มากกว่า ต่างจากธนาคารขนาดเล็กซึ่งอาจจะมีวงเงินหมุนเวียนไม่มากนัก จึงให้วงเงินดอกเบี้ยแก่ลูกค้าได้น้อย แต่ไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยให้สูงเกินกว่าธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด

นางสาวขนิษฐา เอกแก้ว รหัส 54127326020 การเงินการธนาคาร 01

บทที่3 5. ตอบ สินเชื่อธุรกิจ เป็นสินเชื่อสำหรับกิจการห้างร้านไม่ว่าจะนำไปใช้เพื่อลงทุนเพื่อการผลิตหรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงาน โครงสร้างองค์กรโครงสร้างของหน่วยงานขายตามประเภทของผลิตภัณฑ์เป็นการจัดโครงสร้าง โดยให้ผู้บริหารหรือพนักงานขายแต่ละคนรับผิดชอบงานขายในแต่ละผลิตภัณฑ์ เหมาะสำหรับบริษัทที่ขายผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้เทคนิคและมีความสลับซับซ้อน จึงจำเป็นต้องมีพนักงานขายที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ผลิตภัณฑ์เข้ามารับผิดชอบ หรือกรณีที่บริษัทมีผลิตภัณฑ์หลายประเภทที่แตกต่างกัน การจัดโครงสร้างแบบนี้จะช่วยให้พนักงานขายไม่ต้องรับภาระในผลิตภัณฑ์จำนวนมากเกินไป 8.ตอบ ไม่มีความเสี่ยง เพราะการที่ธนาคารผูกพันธุ์ตนเองในฐานะผู้ค้ำประกันให้ผู้รับเหมาในการปฏิบัติตาม สัญญากับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง กรณีที่ผู้รับเหมาผิดข้อตกลงกับบุคคลภายนอก เป็นบริการที่ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับคู่สัญญาของลูกค้า เพื่อเพิ่มความมั่นใจได้ว่า ถ้าลูกค้าไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ธนาคารจะเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหายแทน บทที่4 5. ตอบ การบริหารความเสี่ยง (RISK MANAGEMENT) ดิฉันคิดว่าเพราะธุรกิจที่เกิดขึ้นจากการบริการความเสี่ยงเป็นหัวใจสำคัญ ถ้าลดความเสี่ยงลงได้มากเท่าไร ก็จะมีความมั่นคงมากเท่านั้น และควรคำนึงถึงด้วยว่า ถ้าเสี่ยงมาก ควรได้รับผลตอบแทนมาก ถ้าเสี่ยงน้อย ผลตอบแทนน้อย ก็ไม่เป็นไร การบริหารความเสี่ยง มีประเด็นที่ต้องคำนึงถึง คือ GOOD QUANLITY OF ASSET คือ การบริหารสินทรัพย์ที่มีคุณภาพดี เลือกลงทุนในธุรกิจที่มีผลตอบแทนสูง สินเชื่อที่ธนาคารปล่อยก็ถือว่าเป็นสินทรัพย์ด้วย ฉะนั้น การปล่อยสินเชื่อที่ดี ก็จะสามารถลดความเสี่ยงได้ INDUSTRIAL DISTRIBUTION คือ การกระจายสัดส่วนสินเชื่อใน PORTFOLIO ไปตามประเภทของธุรกิจต่าง ๆ ไม่ควรปล่อยสินเชื่อธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งมากจนเกินไป หากธุรกิจนั้น ๆ มีปัญหา ผลกระทบก็จะรุนแรงตามไปด้วย 8.ตอบ ความแตกต่างระหว่างดอกเบี้ยธนาคารขนาดใหญ่และธนาคารขนาดเล็ก เพราะธนาคารขนาดใหญ่มีวงเงินสูง ดอกเบี้ยค่อนข้างสูง ธนาคารขนาดใหญ่จะเหมาะสำหรับผู้ที่กู้ยืมไปลงทุนทำธุรกิจขนาดใหญ่ ส่วนธนาคารขนาดเล็กจะให้ดอกเบี้ยส่วนลดของเครดิต และวงเงินเหมาะสำหรับการทำธุรกิจ SME ธุรกิจที่มีขนาดเล็กหรือกลาง ดอกเบี้ยของธนาคารขนาดเล็ก จะถูกกว่าธนาคารขนาดใหญ่

คำถามบทที่ 5

ข้อ 2 ตอบ ข้อมูลสินเชื่อเป็นสิ่งที่จำเป็นในการวิเคราะห์สินเชื่อ ข้อมูลแต่ละลักษณะมีผลในการวิเคราะห์ที่แตกต่างกันไป เราจึงจำเป็นที่จะต้องวิเคราะห์ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงคุณภาพคือข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า ประวัติของกิจการและความสามารถในการบริหารจัดการ รวมทั้งโครงการที่จะขอสินเชื่อด้วยเป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนมากนักแต่อาจใช้การตัดสินใจโดยความรู้สึก ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลที่รวบรวมขึ้นเพื่อจะวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มของธุรกิจในอนาคต โดยเฉพาะงบดุลและงบกำไรขาดทุน รวมถึงประมาณการในอนาคต ทำไห้รู้เกี่ยวกับการเงินของธุรกิจนั้นๆ เราจำเป็นต้องวิเคราะห์ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อไห้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและชัดเจน ทั้งยังช่วยไห้พนักงานสินเชื่อตัดสินใจไห้สินเชื่อแก่กิจการนั้นๆได้เป็นอย่างดีอิกด้วย

ข้อ 7 ตอบ ไม่ต้องตรวจสอบเพราะเป็น กิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นงบการเงินที่น่าเชื่อถือมาก

นางสาวขนิษฐา เอกแก้ว

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อ 2 เพราะ การให้สินเชื่อนั้น นักการธนาคารจะต้องวิเคราะห์สินเชื่อ เพื่อพิจารณาถึงความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะได้รับการชำระคืนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยว่ามีมากน้อยเพียงใด เนื่องจากการให้สินเชื่อเป็นสินทรัพย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในงบดุลและเป็นกิจกรรมหลักในการประกอบการของธนาคาร ซึ่งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อฐานะทางการเงินของธนาคาร ดังนั้น จึงควรทำความเข้าใจถึงวิธีการวิเคราะห์การให้สินเชื่อของสถาบันการเงิน โดยทางธนาคารจึงต้องวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

ข้อ 7 คิดว่าไม่จำเป็นที่จะต้องตรวจสอบความถูกต้อง เพราะผู้ขอสินเชื่อเป็นกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย น่าจะไม่ได้รับความเสี่ยงใดๆ เพราะหน่วยงานนี้เป็นหน่วยงานเกี่ยวกับการเงินโดยตรง เป็นหน่วยงานที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้นความไว้วางใจและความน่าเชื่อถือมีอยู่มาก

นางสาวขนิษฐา เอกแก้ว รหัสนักศึกษา 54127326020 สาขาการเงินการธนาคาร 01

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อ 2.

ตอบ เพราะการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณข้อมูลที่แทนคุณลักษณะต่าง ๆ ของตัวแปรที่สามารถจำแนกนับตามกฎเกณฑ์ใดกฎเกณฑ์หนึ่งได้เป็นจำนวนตัวเลขและมีความหมายข้อมูลที่เป็นตัวเลขเหล่านี้ได้มาจากการวัด ซึ่งข้อมูลการวัดนี้จะมีระดับการวัดแตกต่างกันออกไป 4 ระดับ ซึ่งระดับการวัดที่แตกต่างกันจะมีผลต่อการเลือกใช้วิธีการวิเคราะห์ที่แตกต่างกันออกไปด้วย ระดับการวัดข้อมูลดังกล่าว การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งหลังจากที่ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว สิ่งที่จะต้องดำเนินการ คือ การตรวจสอบข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งสามารถทำไปพร้อมกับการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ การตรวจสอบข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพที่นิยมใช้กัน เรียกว่า การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (triangulation) ได้แก่ การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล โดยพิจารณาจาก แหล่งเวลา แหล่งสถานที่และแหล่งบุคคลที่แตกต่างกัน ถ้าข้อมูลต่างเวลากันจะเหมือนกันหรือไม่ ถ้าข้อมูลต่างสถานที่จะเหมือนกันหรือไม่ และถ้าบุคคลผู้ให้ข้อมูลเปลี่ยนไปข้อมูลจะเหมือนเดิมหรือไม่ การตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจัย โดยเปลี่ยนตัวผู้สังเกต และการตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ กันเพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องเดียวกัน การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยนี้มักไม่ใช้สถิติแต่นิยมใช้แนวคิดทฤษฎีเป็นกรอบในการวิเคราะห์โดยวิธีการหลักที่ใช้มี 2 วิธี คือ วิธีแรก เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ซึ่งได้จากการสังเกตและการสัมภาษณ์ที่ได้จดบันทึกไว้จากสิ่งที่เป็นรูปธรรมหรือปรากฏการณ์ที่มองเห็น วิธีที่สอง เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ซึ่งได้จากการศึกษาเอกสาร ในการวิเคราะห์เอกสารผู้วิจัยต้องคำนึงถึงบริบท หรือสภาพแวดล้อมของข้อมูลเอกสารที่นำมาวิเคราะห์ประกอบด้วยว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

ข้อ 7.

ตอบ ไม่จำเป็นต้องตรวจความถูกต้อง เพราะถ้าหากผู้ขอสินเชื่อเป็นผู้มีอาชีพการงานดี รายได้มั่นคง ไม่เคยมีหนี้สินล้นพ้นตัว มีความสามารถในการชำระหนี้ การขอสินเชื่อก็คงไม่ติดปัญหาอะไร หรือหากมีอาชีพการงานไม่มั่นคง เช่น ขายของแผงลอย โอกาสการได้เงินกู้ยังคงมีอยู่ แต่จำนวนเงินกู้ที่ได้รับคงน้อยกว่าที่ต้องการขอสินเชื่อ และอาจต้องจ่ายดอกเบี้ยในจำนวนที่แพงขึ้น

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อ 2.

ตอบ เพราะการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณข้อมูลที่แทนคุณลักษณะต่าง ๆ ของตัวแปรที่สามารถจำแนกนับตามกฎเกณฑ์ใดกฎเกณฑ์หนึ่งได้เป็นจำนวนตัวเลขและมีความหมายข้อมูลที่เป็นตัวเลขเหล่านี้ได้มาจากการวัด ซึ่งข้อมูลการวัดนี้จะมีระดับการวัดแตกต่างกันออกไป 4 ระดับ ซึ่งระดับการวัดที่แตกต่างกันจะมีผลต่อการเลือกใช้วิธีการวิเคราะห์ที่แตกต่างกันออกไปด้วย ระดับการวัดข้อมูลดังกล่าว การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งหลังจากที่ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว สิ่งที่จะต้องดำเนินการ คือ การตรวจสอบข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งสามารถทำไปพร้อมกับการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ การตรวจสอบข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพที่นิยมใช้กัน เรียกว่า การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (triangulation) ได้แก่ การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล โดยพิจารณาจาก แหล่งเวลา แหล่งสถานที่และแหล่งบุคคลที่แตกต่างกัน ถ้าข้อมูลต่างเวลากันจะเหมือนกันหรือไม่ ถ้าข้อมูลต่างสถานที่จะเหมือนกันหรือไม่ และถ้าบุคคลผู้ให้ข้อมูลเปลี่ยนไปข้อมูลจะเหมือนเดิมหรือไม่ การตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจัย โดยเปลี่ยนตัวผู้สังเกต และการตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ กันเพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องเดียวกัน การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยนี้มักไม่ใช้สถิติแต่นิยมใช้แนวคิดทฤษฎีเป็นกรอบในการวิเคราะห์โดยวิธีการหลักที่ใช้มี 2 วิธี คือ วิธีแรก เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ซึ่งได้จากการสังเกตและการสัมภาษณ์ที่ได้จดบันทึกไว้จากสิ่งที่เป็นรูปธรรมหรือปรากฏการณ์ที่มองเห็น วิธีที่สอง เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ซึ่งได้จากการศึกษาเอกสาร ในการวิเคราะห์เอกสารผู้วิจัยต้องคำนึงถึงบริบท หรือสภาพแวดล้อมของข้อมูลเอกสารที่นำมาวิเคราะห์ประกอบด้วยว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

ข้อ 7.

ตอบ ไม่จำเป็นต้องตรวจความถูกต้อง เพราะถ้าหากผู้ขอสินเชื่อเป็นผู้มีอาชีพการงานดี รายได้มั่นคง ไม่เคยมีหนี้สินล้นพ้นตัว มีความสามารถในการชำระหนี้ การขอสินเชื่อก็คงไม่ติดปัญหาอะไร หรือหากมีอาชีพการงานไม่มั่นคง เช่น ขายของแผงลอย โอกาสการได้เงินกู้ยังคงมีอยู่ แต่จำนวนเงินกู้ที่ได้รับคงน้อยกว่าที่ต้องการขอสินเชื่อ และอาจต้องจ่ายดอกเบี้ยในจำนวนที่แพงขึ้น

54127326042 นางสาวฐิตาภา ศรีวัฒนา

นางสาวปัทมาวรรณ คงถาวร

คำถามบทที่5

ข้อ2. เพราะ ข้อมูลแต่ละลักษณะก็มีผลในการใช้วิเคราะห์แตกต่างกัน ความน่าเชื่อถือก็แตกต่างกันขึ้นอยู่กับแหล่งที่มาของข้อมูลดังนั้น นักการธนาคารที่จะต้องวิเคราะห์สินเชื่อ เพื่อพิจารณาถึงความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะได้รับการชำระคืนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยว่ามีมากน้อยเพียงใด เนื่องจากการให้สินเชื่อเป็นสินทรัพย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในงบดุลและเป็นกิจกรรมหลักในการประกอบการของธนาคาร ซึ่งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อฐานะทางการเงินของธนาคาร ดังนั้น จึงควรทำความเข้าใจถึงวิธีการวิเคราะห์การให้สินเชื่อของสถาบันการเงิน โดยทางธนาคารจึงต้องวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

ข้อ7.ไม่จำเป็นต้องตรวจความถูกต้อง เพราะผู้ที่มาขอสินเชื่อดังกล่าวมีการงานที่มั่นคง มีความน่าเชื่อถือ และมีความสามารถในการชำระหนี้ได้

นางสาวอรนุช เพียราชโยธา
   คำถามท้าบบทที่ 5

ข้อ 2. ตอบ เพราะ ข้อมูลเชิงคุณภาพจะเป็นข้อมูลที่สังเกตได้ แต่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ เช่น เพศ ศาสนา สัญชาติ สี กลิ่น ความสวย เป็นต้น

     ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณจะเป็นตัวเลข สามารถวัดได้ เช่น ความสูง ความยาว พื้นที่ น้ำหนัก ความเร็ว เวลา อุณหภูมิ ระยะทาง ความชื้น ต้นทุน อายุ เป็นต้น
     ดังนั้น นักศึกษาที่สอบผ่าน เป็นตัวเลข เช่น 100 คน  สอบไม่ผ่าน 10 คน จึงเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ

ข้อ 7. ตอบ คงไม่ต้องตรวจสอบแร้ว เพราะว่า ตลาดหลักทรัพย์เป็นนิติบุคคลที่มีลักษณะเป็นองค์กรที่กำกับดูแลตนเอง ( Self Regulatory Organization ) คือการเป็นองค์กรที่ไม่ได้แสวงหาผลกำไรและไม่ได้ใช้งบจากทางราชการ และมีคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นผู้กำหนดนโยบายและควบคุมการดำเนินงานของตลาดฯ

54127326032 น.ส.อรนุช เพียราชโยธา

นางสาวอรสา รักไร่

บทที่5

ข้อ  2

เพราะ ข้อมูลเชิงปริมาณจะเป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบฐานข้อมูลในปัจจุบันและอนาคตว่าข้อมูลนั้นมีกำไรมากน้อยเพียงใด อาจแบ่งข้อมูลเชิงปริมาณ ออกเป็น 2 ชนิด ได้จากการนับ ได้จากการ ชั่ง ตวง วัด
1.ตัวเลขที่ได้จากการนับ เป็นเลขจำนวนเต็ม
2.ตัวเลขที่ได้จากการชั่งตวงวัด มีค่าต่อเนื่อง ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ เช่น แบบสอบ การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ และการวิจัยปฏิบัติการ

ข้อ  7

ตรวจสอบเพราะ ถึงจะมีกิจการอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ก็ตามแต่ไม่รู้ว่าเงินมายังไงดีหรือไม่ดี แล้วต้องคิดว่ามีกิจการในตลาดหลักทรัพ์แห่งประเทศไทยแล้วทำไมต้องมาขอสินเชื่อ

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อที่ 2 ตอบ เพราะ ผู้ที่วิเคราะห์สินเชื่อจะต้องแยกข้อมูลก่อนว่าอันไหนข้อมูลเชิงปริมาณ และอันไหนข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงคุณภาพ(Qualitative) คือเป็นข้อมูลที่รวบรวมเพื่อการวิเคราะห์ของลูกค้า เหมือนเป็นการพูดคุยเรื่องราวกิจกานนั้นๆของลูกค้าโดยที่ยังไม่เก็บรายละเอียดเรื่องตัวเลข แต่จะพูดโครงสร้างคราวๆก่อนที่จะนำไปทำการตัดสินใจ ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative) คือเป็นข้อมูลตัวเลขซึ่งนำมาวิเคราะห์เรื่องการเงินและการประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ดังนั้นทางธนาคารจะต้องมีข้อมูลทั้งสองอย่างเพื่อที่จะ มีข้อมูลที่ชัดเจน เพื่อทำการวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น และตัดสินใจได้ง่ายขึ้นด้วย

ข้อที่ 7 ตอบ ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้องก็ได้ เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีความแน่นอนเรื่องเงินอยู่แล้ว เลยไม่น่าจะมีความเสี่ยงอะไรมาก การให้บริการระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ การคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้ลงทุน การเผยแพร่และให้บริการสารสนเทศเพื่อการลงทุน ก็มีความน่าเชื่อถือพอ และมั่นใจพอที่จะให้ชำระหนี้ได้

นางสาว กมลรัตน์ อัศวเลิศพิพัฒน์ 54127326007

นางสาวทิพย์วิมล เทียนเทศ

นางสาวทิพย์วิมล เทียนเทศ 54127326041 การเงินการธนาคาร 01 คำถามบทที่5 ข้อ2 ตอบ เพราะการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจะทำให้ธนาคารได้รู้ถึงประวัติกิจการและความสามารถในการบริหารกิจการของลูกค้าที่มาขอสินเชื่อได้ และการวิเคราะห์เชิงปริมาณจะทำให้ธนาคารได้รู้ถึงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุนของลูกค้า ซึ่งจะทำให้สามารถตัดสินใจให้สินเชื่อแก่ลูกค้าได้ง่ายขึ้น

ข้อ 7 ตอบ ไม่จำเป็นจะต้องตรวจสอบความถูกต้องเพราะ ผู้ที่ขอสินเชื่อเป็นผู้ที่มีการงานที่มั่นคง มีความน่าเชื่อถือ จึงไม่น่าจะมีปัญหาในการชำระหนี้

นางสาว วิชชุดา วิชาชน

คำถามประจำบทที่ 5 ตอบ ข้อ 2 เพราะข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลจะแตกต่างกันออกไป ของตัวแปรที่สามารถจำแนกนับตามกฎเกณฑ์ใดกฎเกณฑ์หนึ่งได้เป็นจำนวนตัวเลขและมีความหมายข้อมูลที่เป็นตัวเลขเหล่านี้ได้มาจากการวัด ซึ่งข้อมูลการวัดนี้จะมีระดับการวัดแตกต่างกัน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งหลังจากที่ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว สิ่งที่จะต้องดำเนินการ คือ การตรวจสอบข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งสามารถทำไปพร้อมกับการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ การตรวจสอบข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพที่นิยมใช้กัน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างและเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ของข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ

ตอบ ข้อ 7
ไม่จำเป็น ต้องการตรวจหาความถูกต้อง เพราะผู้ขอสินเชื่อถ้าหากผู้ขอสินเชื่อเป็นผู้มีอาชีพมั่นคง ไม่มีความเสี่ยงหนี้สินเยอะมากเกินไป มีความสามารถในการชำระหนี้ การขอสินเชื่อก็คงจะง่ายไม่ได้คิดอะไรมากมายหรือหากมีอาชีพที่มั่นคง โอกาสการให้สินเชื่อกว่าคงจะดีอยู่คนที่มีการทำมาหากินที่ไม่มั่นคง รายได้ไม่คงที่

นางสาววิชชุดา วิชาชน รหัสนักศึกษา 54127326035

คำถามประจำบทที่ 5

            ข้อ 2 ตอบ สาเหตุก็เพราะว่า การที่เราจะให้สินเชื่อเราต้องเริ่มต้นตั้งแต่วางแผนหาลูกค้า และจะทำอย่างไรให้ได้ลูกค้าพร้อมข้อมูลที่แท้จริง ข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลที่จำเป็น อาจจะเป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือข้อมูลอื่นๆ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์อนุมัติการให้สินเชื่อ ข้อมูลในแต่ล่ะแห่งมักจะเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ มักจะมีปัญหาเสมอ คือ การที่เราไม่ได้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อมูล เพราะความลับทางการค้า พนักงานสินเชื่อจะต้องใช้ประสบการณ์ ความรูที่รอบคอบ เพื่อหาข้อมูลที่แท้จริงเท่านั้น

            ข้อ 7 ตอบ ไม่ต้องตรวจสอบอีก เพราะว่ากิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยนั้น มีความมั่นคง และมีความสามารถในการชำระหนี้อยู่แล้ว ส่วนงบการเงินที่ได้มาถึงจะมีความเสี่ยงแต่ก็น้อย เพราะมีคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์เป็นผู้ดูแล จึงไม่น่าจะเสี่ยงมากเท่าไหร่ในด้านของงบการเงิน

 

น.ส สุภาวดี พูลสวัสดิ์ 54127326021 การเงินการธนาคาร 01

คำถามบทที่ 5

ข้อ 2. สินเชื่อเป็นความเชื่อถือและไว้วางใจระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย ในการที่จะให้สินค้าหรือบริการไปใช้ก่อน โดยมีสัญญากำหนดเงื่อนไขและเงื่อนเวลาการชำระคืนในอนาคตโดยผู้ให้สินเชื่อต้องนำข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ เพราะจะต้องแยกข้อมูลที่สำคัญออกจากข้อมูลที่ไม่จำเป็น อย่างเช่นข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า รวมทั้งโครงการที่จะขอสินเชื่อด้วย ข้อมูลสำคัญคือ ประวัติของกิจการ และความสามารถในการบริหารกิจการ เป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนแต่อาจใช้การตัดสินใจโดยความรู้สึก ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข ซึ่งรวบรวมมาเพื่อจะวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันแนวโน้มในอนาคต ซึ่งการวิเคราะห์สินเชื่อทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพก็เป็นการรวบรวมข้อมูลและวัดความน่าเชื่อถือว่าผู้ให้สินเชื่อควรให้สินเชื่อแก่ธุรกิจนั้นหรือไม่

ข้อ 7. ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้องอีก เพราะกิจการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นกิจการเกี่ยวกับการลงทุนระดับประเทศ ซึ่งมีความน่าเชื่อถือ และมั่นคง มีฐานะทางการเงินที่น่าเชื่อถืออยู่แล้ว

นางสาวแสงทิพย์ เผือกผ่อง 54127326001 การเงินการธนาคาร 01

คำถามท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 2 ตอบ เพราะ ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่ทำให้นักวิเคราะห์สินเชื่อได้ทราบประวัติ ฐานะทางการเงิน ความสามารถในการชำระคืนเงินและอื่นๆอีกมากมายของผู้ที่มาขอสินเชื่อว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด และเหมาะสมหรือไม่ที่จะให้สินเชื่อ เนื่องจากการให้สินเชื่อจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อฐานะทางการเงินของธนาคาร จึงควรวิเคราะห์ข้อมูลให้ถูกต้อง ระเอียด รอบคอบ

ข้อที่ 5 ตอบ ไม่ต้องตรวจสอบอีก เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินที่มีขนาดใหญ่ มั่นคง และมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ความเสี่ยงที่จะเกิดจากผู้ที่มาขอสนเชื่อคงจะเกิดขึ้นได้ยาก

คำถามท้ายบทที่ 5

ข้อที่ 2 ตอบ เพราะ ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่ทำให้นักวิเคราะห์สินเชื่อได้ทราบประวัติ ฐานะทางการเงิน ความสามารถในการชำระคืนเงินและอื่นๆอีกมากมายของผู้ที่มาขอสินเชื่อว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด และเหมาะสมหรือไม่ที่จะให้สินเชื่อ เนื่องจากการให้สินเชื่อจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อฐานะทางการเงินของธนาคาร จึงควรวิเคราะห์ข้อมูลให้ถูกต้อง ระเอียด รอบคอบ

ข้อที่ 5 ตอบ ไม่ต้องตรวจสอบอีก เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินที่มีขนาดใหญ่ มั่นคง และมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ความเสี่ยงที่จะเกิดจากผู้ที่มาขอสนเชื่อคงจะเกิดขึ้นได้ยาก

น.ส.จินตนา ชินชงจู 54127326006 การเงินการธนาคาร 01

คำถามท้ายบทที่ 5 ข้อ 2 เพราะ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพมีที่มาแตกต่างกัน กล่าวคือ การวิจัยเชิงคุณภาพมีพื้นฐานปรัชญาแบบธรรมชาตินิยม (Naturalism) ในขณะที่การวิจัยเชิงปริมาณมีพื้นฐานแบบปรัชญาแบบปฏิฐานนิยม (Positivism) ดังนั้น การค้นหาความจริงด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพจะเน้นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามสภาพการณ์ที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งเรียกว่า แนวคิดแบบปรากฎการณ์นิยม (Phenomenalism) แล้วอาศัยวิธีการพรรณนาเป็นสำคัญ ในขณะที่การค้นหาความจริงด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณต้องอาศัยกระบวนการหรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่อยู่บนรากฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์ และขั้นตอนที่มีระเบียบแบบแผน

ข้อ 5 ไม่จำเป็นเพราะว่า ผู้ที่ขอสินเชื่อทำงานในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นน่าเชื่อถือได้ถ้าไม่มีความเชื่อถือจิงคงไม่ได้เข้ามาทำงาน ในตลาดหลักทรัพย์ อยู่แล้ว ใครจะรับลูกน้งที่โกงกิจธุรกิจของชาติยังงี้เข้ามาทำงานในองค์กรของตัวเอง จึงไม่ต้องตรวจสอบไรมาก

บทที่ 5 ข้อ 2 ตอบ เพราะ ก่อนที่เราที่จะให้สินสินเชื่อแก่ลูกค้าเราต้องรู้องค์ประกอบต่างๆของลูกค้าว่าพื้นฐานเป็นเช่นไรเพื่อง่ายต่อการให้เชื่อ โดยข้อมูล2ตัวนี้เป็นตัวบอกถึงลักษณะของผู้ขอสินเชื่อ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลที่แทนคุณลักษณะต่าง ๆ ของตัวแปรที่สามารถจำแนกนับตามกฎเกณฑ์ใดกฎเกณฑ์หนึ่งได้เป็นจำนวนตัวเลขและมีความหมายข้อมูลที่เป็นตัวเลขเหล่านี้ได้มาจากการวัด ซึ่งข้อมูลการวัดนี้จะมีระดับการวัดแตกต่างกันออกไป 4 ระดับ ซึ่งระดับการวัดที่แตกต่างกันจะมีผลต่อการเลือกใช้วิธีการวิเคราะห์ที่แตกต่างกันออกไปด้วย
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพคือ ข้อมูลส่วนที่เป็นข้อมูลที่รวบรวมเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพข้องลูกค้า

       ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ  ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ  ตามลำดับ  ได้แก่

ขั้นตอนที่ 1 การตรวจสอบข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 การทำดัชนีข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 การทำข้อสรุปชั่วคราวและการกำจัดข้อมูล ขั้นตอนที่ 4 การสร้างบทสรุปและพิสูจน์บทสรุป

         ซึ่งหลังจากที่ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว  สิ่งที่จะต้องดำเนินการ  คือ  การตรวจสอบข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล  ซึ่งสามารถทำไปพร้อมกับการเก็บรวบรวมข้อมูลได้   การตรวจสอบข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพที่นิยมใช้กัน เรียกว่า การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (triangulation) ได้แก่  การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล โดยพิจารณาจาก  แหล่งเวลา  แหล่งสถานที่และแหล่งบุคคลที่แตกต่างกัน    ถ้าข้อมูลต่างเวลากันจะเหมือนกันหรือไม่   ถ้าข้อมูลต่างสถานที่จะเหมือนกันหรือไม่  และถ้าบุคคลผู้ให้ข้อมูลเปลี่ยนไปข้อมูลจะเหมือนเดิมหรือไม่   การตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจัย โดยเปลี่ยนตัวผู้สังเกต  และการตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล  โดยใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ กันเพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องเดียวกัน การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยนี้มักไม่ใช้สถิติแต่นิยมใช้แนวคิดทฤษฎีเป็นกรอบในการวิเคราะห์โดยวิธีการหลักที่ใช้มี  2  วิธี  คือ  วิธีแรกเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ซึ่งได้จากการสังเกตและการสัมภาษณ์ที่ได้จดบันทึกไว้จากสิ่งที่เป็นรูปธรรมหรือปรากฏการณ์ที่มองเห็น   วิธีที่สอง  เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ซึ่งได้จากการศึกษาเอกสาร ในการวิเคราะห์เอกสารผู้วิจัยต้องคำนึงถึงบริบท หรือสภาพแวดล้อมของข้อมูลเอกสารที่นำมาวิเคราะห์ประกอบด้วยว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ข้อ 7 ตอบ ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้องอีก เพราะ ตลาดหลักทรัพย์มีความน่าเชื่อถือ ความมั่นคง และ มีฐานะทางการเงินที่น่าเชื่อถือต่อการชำระหนี้ได้อย่างแน่นนอน

นางสาว ภาณุมาส ภูกองไชย

ข้อ 2

ตอบ  เพราะเป็นสิ่งที่จำเป็นในการวิเคราะห์สินเชื่อ  ข้อมูลแต่ละลักษณะมีผลในการใช้วิเคราะห์แตกต่างกัน  ความน่าเชื่อถือก็แตกต่างกันขึ้นอยู่กับแหล่งที่มาของข้อมูล  เพราะการวิเคราะห์ข้อมูลจะต้องมีการตรวจสอบข้อมูล  เพื่อให้ผู้วิเคราะห์เกิดความมั่นใจว่าข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมมานั้นมีความถูกต้อง  ข้อมูลที่ได้ควรเป็นข้อมูลที่จำเป็นเท่านั้น ทั้งที่เป็นข้อมูลตัวเลขทางการเงินและข้อมูลอื่นๆ  โดยต้องคำนึงถึงในแง่เวลา  ต้นทุนในการได้รับข้อมูล  เพื่อเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์และตัดสินใจอนุมัติสินเชื่อ

ข้อ 7

ตอบ  ไม่ต้องตรวจสอบอีก เพราะผู้ขอสินเชื่อทำกิจการอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีความมั่นคงน่าเชื่อถือ  มีความสามารถในการชำระหนี้ ความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นได้ยากจากผู้ที่มาขอสินเชื่อ

นางสาวเกวลี  แจ้งสำอาง  รหัส 54127326018

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อที่ 2 เพราะ ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า เป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข รวบรวมมาเพื่อวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ดังนั้นพนักงานสินเชื่อจึงต้องวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ เพื่อที่จะมีข้อมูลที่ชัดเจนและสามารถวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น ทำให้ตัดสินใจได้ง่ายขึ้นอีกด้วย

ข้อที่ 7 ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้อง เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินขนาดใหญ่ มีความมั่นคงทางการเงินและมีความน่าเชื่อถือ จึงไม่น่าจะมีความเสี่ยงและไม่มีปัญหาในการชำระหนี้

นางสาว ภคินี สิริชื่นสุวรรณ 54127326037 - ขอบคุณค่ะ -

นายฉัตรชัย มาศรังสฤษดิ์

คำถามบทที่ 5

ข้อ 2 ตอบ

                เพราะว่าการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขทั้งในอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตโดยใช้งบการเงินเป็นสำคัญ เพื่อให้ทราบถึงฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานที่เป็นตัวเงิน(กำหนดมูลค่า) ของผู้ขอสินเชื่อ ได้แก่ งบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด  ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ  เป็นข้อมูลที่ใช้เพื่อการประเมินระดับความสามารถของการให้สินเชื่อกับลูกค้าในด้านต่างๆ โดยไม่ใช้ข้อมูลที่เป็นตัวเลข เช่น ประวัติส่วนตัวของผู้ขอสินเชื่อ ความสามารถในการประกอบการ ประวัติในการชำระหนี้ เป็นต้น การหาข้อมูลดังกล่าวทำได้โดยการไปสอบถามจากตัวผู้ขอให้สินเชื่อหรือบุคคลที่ใกล้ชิดไปตรวจสอบที่บ้านหรือสถานประกอบการของผู้ขอให้สินเชื่อ

ข้อ 7 ตอบ

               ไม่ต้องมีความตรวจสอบความถูกต้องอีก เพราะว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นกิจการที่มีการบริหารจัดการที่เป็นมาตรฐานและโปร่งใส มีระบบบัญชีที่ดี รวมทั้งมีการจัดทำงบการเงินและรายงานผลการดำเนินงานที่ถูกต้องและเป็นไปตามมาตรฐาน มีแหล่งระดมทุนและแหล่งลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดความเชื่อมั่นต่อนักลงทุนสูง

นายฉัตรชัย มาศรังสฤษดิ์  รหัสนักศึกษา 54127326010

หทัยรัตน์ สีหาวัตร

นางสาวหทัยรัตน์ สีหาวัตร รหัสนักศึกษา 54127326019 ปี 2 สาขา บริหารธุรกิจ ( การเงินการธนาคาร ) หมู่ 001

                                    คำถามประจำบทที่ 5

ข้อ 2

       ตอบ เพราะ การบริหารจัดการสินเชื่อให้มีประสิทธิภาพ ต้องได้ข้อมูลที่เป็นความจริง จำเป็นเท่านั้น ทั้งที่เป็นข้อมูลตัวเลขทางการเงินและข้อมูลอื่นๆ ใช้ในการวิเคราะห์สินเชื่อ ข้อมูลแต่ละลักษณะมักจะเป็นข้อมูลทางคุณภาพและข้อมูลปริมาณ ถ้าได้เพียงข้อมูลใด ๆ ข้อมูลหนึ่ง จะทำให้การพิจารณาสินเชื่อไม่สมบูรณ์ ไม่มีประสิทธิภาพและนำมาตัดสินใจค่อยข้างลำบาก เช่น มีข้อมูลแต่ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนแต่อาจใช้การตัดสินใจโดยความรู้สึก พนักงานสินเชื่อที่มีประสบการณ์สูงจะสามารถวิเคราะห์ได้ดี และถ้ามีแต่ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข เช่น ลูกค้าขอสินเชื่อเพื่อทำบ้านจัดสรร หรือสนามกอล์ฟ

ข้อ 7

       ตอบ ไม่ควรตรวจสอบ เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินการที่น่าเชื่อถือ มีชื่อเสียง มีหลักทรัพย์ เป็นสถาบันการเงินที่มีความสำคัญในตลาดทุนและตลาดการเงินไทย ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการซื้อขายหลักทรัพย์ และเป็นกลไกหรือตัวกลางในการระดมเงินออมหรือเงินทุนส่วนเกินจากภาคครัวเรือนมาจัดสรรสู่ภาคการผลิตที่ต้องการเงินทุน และกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้อยู่ภายใต้การกำกับดูแล จึงทำให้เป็นที่ยอมรับ เชื่อถือได้ว่าถ้าหากปล่อยให้สินเชื่อไปกิจการตลาดหลักทรัพย์ ฯ ส่งผลให้สถาบันการเงินลดความเสี่ยงทางการเงินได้มาก ควรให้สินเชื่ออย่างเร่งด่วนเพราะมิฉะนั้น สถาบันการเงินอื่นอาจจะรีบพิจารณาเอาไปก่อน

พิมลวรรณ เทิดสุธาธรรม

ตอบคำถามท้ายบทที่ 5 ตอบข้อ 2

            ในการวิเคราะห์สินเชื่อจะต้องวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงคุณภาพ และในเชิงปริมาณ  เพราะ  การวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงคุณภาพนั้น  ข้อมูลในส่วนนี้  จะเป็นข้อมูลที่รวบรวมเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า  และโครงการที่จะทำการเสนอขอสินเชื่อ  ข้อมูลในเชิงคุณภาพจึงเป็นส่วนที่สำคัญยิ่งในการวิเคราะห์และตัดสินใจ  ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณนั้น  ข้อมูลในส่วนนี้จะเป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข  ซึ่งข้อมูลตัวเลขนี้จะนำมาวิเคราะห์งบฐานะทางการเงินของผู้ที่ทำการเสนอขอสินเชื่อ  ประมาณการณ์และวิเคราะห์งบทางการเงินทั้งในปัจจุบัน  และแนวโน้มในอนาคตของผู้เสนอขอสินเชื่อ
สรุป คือ ทั้งข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ ทั้ง 2  สิ่งนี้มีความสัมพันธ์กัน  และมีความสำคัญเป็นอย่างมากในการพจารณาการขอสินเชื่อ

ตอบข้อ 7

            ผู้ขอสินเชื่อเป็นกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  งบทางการเงินที่ได้รับมา  ก็ต้องควรตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง  เพราะ  ลูกค้าอาจมีข้อมูลในอดีตที่ปกปิดเป็นความลับ  เราควรตรวจสอบข้อมูลในอดีต  โดยการตรวจสอบฐานะของลูกค้าจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ  ได้แก่  ศาลอาญา  แบงก์ชาติ  สำนักงานทนายความ  และสมาคม  เป็นต้น  อีกทั้งยังต้องตรวจสอบประวัติความเป็นมาของธุรกิจว่ามีการก่อตั้งมานานเท่าใด  ตรวจสอบรายละเอียดของธุรกิจ  ชื่อเสียงของธุรกิจ  ผู้บริหารอันดับต้นๆ  และควรวิเคราะห์งบทางการเงินต่างๆ  ดังเช่น  วิเคราะห์งบดุลในอดีต  งบกำไรขาดทุนในอดีต  การตรวจสอบข้อมูลความถูกต้องทั้งหมดนี้  เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นความจริงและถูกต้องเพื่อในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการให้สินเชื่อแก่ลูกค้า

นางสาว พิมลวรรณ เทิดสุธาธรรม 54127326005

อาภารัตน์ อรุณเรือง

คำถามท้ายบทที่ 5

ข้อ 2 ตอบ เพราะการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพลูกค้า เป็นสิ่งที่จำเป็นในการวิเคราะห์สินเชื่อ ข้อมูลที่สำคัญคือ ประวัติกิจการและความสามารถในการบริหารกิจการ เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนแต่อาจใช้การตัดสินใจโดยความรู้สึก พนักงานสินเชื่อที่มีประสบการณ์สูงสามารถวิเคราะห์ได้ดี ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่มีตัวเลข รวบรวมมาเพื่อจะวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ

ข้อ 7 ตอบ ไม่ต้องตรวจสอบเพราะตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นความสำคัญในตลาดทุนและตลาดการเงินไทย เป็นสถาบันการเงินขนาดใหญ่ มีความสามารถในการชำระหนี้ ความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นได้ยากจากผู้ที่มาขอสินเชื่อ มีความน่าเชื่อถือ ไม่มีการเกิดการโกงกันได้

นางสาว อาภารัตน์ อรุณเรือง 01 54127326033

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อ 2 ตอบ

             การพิจารณาสินเชื่อต้องวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพราะการพยายามรวบรวมข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วนนั้น จะทำให้การวิเคราะห์สินเชื่อประสบผลสำเร็จ  

           โดยข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative) เป็นข้อมูลทางด้านประวัติ ชื่อเสียง คุณภาพ และความสามารถของผู้บริหารกิจการ ซึ่งจะต้องคำนึงถึง
         - ความเอาใจใส่ในการดำเนินธุรกิจ พิจารณาว่าผู้บริหารสนใจเกี่ยวกับการขยายตัว หรือการเจริญเติบโตของผลการดำเนินงานของธุรกิจ (กำไร) หรือไม่ โดยวิธีเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานในอดีตที่ผ่านมาหรือผลการดำเนินงานของ คู่แข่งขันเป็นเกณฑ์
         -  วิสัยทัศน์ในการบริหารงาน พิจารณาว่าผู้บริหารให้ความสนใจในการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง และพัฒนาสินค้าใหม่ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับความต้องการและการเปลี่ยนแปลง ของลูกค้าหรือไม่ เพราะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (Research and Development R&D) จะนำไปสู่ความเจริญเติบโตแก่ธุรกิจในอนาคต
         -  วิธีการบริหาร ลักษณะและวิธีการบริหารมีรูปแบบ ระบบ และมีเหตุมีผลในการกำหนดวัตถุประสงค์ในการทำงาน และกำหนดวิธีการสำหรับแผนการดำเนินงาน นั่นคือ มีการกำหนดแผนงาน (Action Plan) ให้สอดคล้องและเป็นไปตามนโยบาย (Policy)
         -  ผลงานในอดีต ปัจจุบันตลอดจนแผนงานในอนาคต พิจารณาผลงานในอดีต ตลอดจนผลงานในปัจจุบัน เพื่อเป็นแนวทางในการวิเคราะห์และวางแผนสำหรับการดำเนินงานในอนาคต
            ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative)  เป็นข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขทั้งในอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตโดยใช้งบการเงินเป็นสำคัญ เพื่อให้ทราบถึงฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานที่เป็นตัวเงิน (กำหนดมูลค่า) ของผู้ขอสินเชื่อ ได้แก่
          - งบดุล เป็นงบการเงินที่บอกให้ทราบถึงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง ประกอบด้วยส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน คือ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของผู้ถือหุ้น
         - งบกำไรขาดทุน เป็นงบการเงินที่บอกให้ทราบถึงผลการดำเนินงานของกิจการ สำหรับงวดระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยการเปรียบเทียบรายได้กับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นภายในกิจการ
         -  งบกระแสเงินสด  เป็นงบการเงินที่บอกให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของเงินสดที่หมุนเวียนภายใน กิจการว่ามีที่มามาจากแหล่งใด และใช้ไปในรูปแบบใดบ้าง ตลอดจนเงินสดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด  เนื่องจากในปัจจุบัน เงินสดจัดว่าเป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้ธุรกิจสามารถอยู่รอดได้ ภายใต้สภาวะการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น
            จะเห็นได้ว่า ทั้งข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ ล้วนแต่มีความสำคัญต่อการพิจารณาสินเชื่อทั้งนั้น จะขาดอย่างหนึ่งอย่างใดไปไม่ได้

 

ข้อ 7 ตอบ

          ในกรณีผู้ขอสินเชื่อเป็นกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย งบการเงินที่ได้รับมา ไม่ต้องตรวจสอบความถูกต้องอีก เนื่องจากงบการเงินจากกิจการในตลาดหลักทรัพย์ เป็นงบการเงินที่มีความน่าเชื่อถือ จัดเป็นบริษัทขนาดใหญ่ มีความโปร่งใสทางงบการเงิน มีทุนจำนวนมาก

คำถามประจำบทที่ 5 ข้อ 2. ตอบ เนื่องจากสินเชื่อเป็นเชื่อถือและไว้วางใจระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายในการที่จะให้สินค้าหรือบริการไปใช้ก่อน โดยมีสัญญากำหนดเงื่อนไขและเงื่อนเวลาการชำระคืนในอนาคตและข้อมูลสินเชื่อก็เป็นสิ่งจำเป็น ข้อมูลแต่ละลักษณะก็มีผลในการวิเคราะห์แตกต่างกันไป ซึ่งข้อมูลในการวิเคราะห์สินเชื่อได้แบ่งออกเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลคุณภาพเป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า รวมทั้งโครงการที่ขอสินเชื่อด้วย เช่น เราจะต้องไปศึกษาประวัติความเป็นมาของลูกค้าให้ดี ศึกษาคุณลักษณะของลูกค้าให้ดีส่วนข้อมูลเชิงปริมาณเป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข ซึ่งรวบรวมมาเพื่อจะวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ

ข้อ 3. ตอบ ไม่จำเป็นที่ต้องตรวจสอบความถูกต้องอีก เนื่องจากผู้ขอสินเชื่อเป็นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีกิจการเกี่ยวกับทางด้านการเงินอยู่แล้วและเป็นกิจการที่ดำเนินงานอย่างน่าเชื่อถือ จึงทำให้ไม่มีความเสี่ยงในการให้สินเชื่อ

นางสาวกนกพร ธรรมศิริ รหัสนักศึกษา 54127326022 ห้อง 01 สาขาการเงินการธนาคาร

คำถามประจำบทที่ 5 ข้อที่ 2 ตอบ เพราะ ผู้ที่วิเคราะห์สินเชื่อจะต้องแยกข้อมูลก่อนว่าอันไหนข้อมูลเชิงปริมาณ และอันไหนข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงคุณภาพ(Qualitative)คือเป็นข้อมูลที่รวบรวมเพื่อการวิเคราะห์ของลูกค้า เหมือนเป็นการพูดคุยเรื่องราวกิจกานนั้นๆของลูกค้าโดยที่ยังไม่เก็บรายละเอียดเรื่องตัวเลข แต่จะพูดโครงสร้างคราวๆก่อนที่จะนำไปทำการตัดสินใจ ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative)คือเป็นข้อมูลตัวเลขซึ่งนำมาวิเคราะห์เรื่องการเงินและการประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ดังนั้นทางธนาคารจะต้องมีข้อมูลทั้งสองอย่างเพื่อที่จะ มีข้อมูลที่ชัดเจน เพื่อทำการวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น และตัดสินใจได้ง่ายขึ้นด้วย ข้อ 7. ไม่ต้องมีความตรวจสอบความถูกต้องอีก เพราะว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นกิจการที่มีการบริหารจัดการที่เป็นมาตรฐานและโปร่งใส มีระบบบัญชีที่ดี รวมทั้งมีการจัดทำงบการเงินและรายงานผลการดำเนินงานที่ถูกต้องและเป็นไปตามมาตรฐาน มีแหล่งระดมทุนและแหล่งลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดความเชื่อมั่นต่อนักลงทุนสูง

คำถามประจำบทที่ 5 ข้อที่ 2 ตอบ เพราะ ผู้ที่วิเคราะห์สินเชื่อจะต้องแยกข้อมูลก่อนว่าอันไหนข้อมูลเชิงปริมาณ และอันไหนข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงคุณภาพ(Qualitative)คือเป็นข้อมูลที่รวบรวมเพื่อการวิเคราะห์ของลูกค้า เหมือนเป็นการพูดคุยเรื่องราวกิจกานนั้นๆของลูกค้าโดยที่ยังไม่เก็บรายละเอียดเรื่องตัวเลข แต่จะพูดโครงสร้างคราวๆก่อนที่จะนำไปทำการตัดสินใจ ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative)คือเป็นข้อมูลตัวเลขซึ่งนำมาวิเคราะห์เรื่องการเงินและการประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ดังนั้นทางธนาคารจะต้องมีข้อมูลทั้งสองอย่างเพื่อที่จะ มีข้อมูลที่ชัดเจน เพื่อทำการวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น และตัดสินใจได้ง่ายขึ้นด้วย ข้อ 7. ไม่ต้องมีความตรวจสอบความถูกต้องอีก เพราะว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นกิจการที่มีการบริหารจัดการที่เป็นมาตรฐานและโปร่งใส มีระบบบัญชีที่ดี รวมทั้งมีการจัดทำงบการเงินและรายงานผลการดำเนินงานที่ถูกต้องและเป็นไปตามมาตรฐาน มีแหล่งระดมทุนและแหล่งลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดความเชื่อมั่นต่อนักลงทุนสูง

พรนภัส โกไสยาภรณ์ 54127326012

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อที่ 2

          เพราะว่า ข้อมูลสินเชื่อจะประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลขและข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข  และมีเป็นจำนวนมาก  ผู้วิเคราะห์สินเชื่อจะต้องแยกข้อมูลที่ไม่จำเป็น  โดยต้องพยายามรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและให้ครอบคลุมปัญหาที่มี  และอาจมีในอนาคต  ซึ่งแยกได้เป็น

          1.ข้อมูลเชิงคุณภาพ  (Qualitative)  ข้อมูลส่วนนี้เป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับตัวเลข  ข้อมูลสำคัญคือ  ประวัติของกิจการและความสามารถในการบริหารกิจการ

          2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative) เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข  ซึ่งรวบรวมมาเพื่อวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ  ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต  โดยเฉพาะงบดุลและงบกำไรขาดทุน  รวมถึงประมาณการในอนาคต

 

ข้อที่ 7.

          ในกรณีผู้ขอสินเชื่อเป็นกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  งบการเงินที่ได้รับมาไม่ต้องตรวจสอบ  เพราะตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งมีความน่าเชื่อถือ มีการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีระบบ  มาตรฐาน  โปร่งใส  ซึ่งดูแลโดยกระทรวงการคลัง  เป็นแหล่งระดมเงินทุนที่มีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือ  ซึ่งทำให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ลงทุนได้อย่างมาก

 

นาย ธฤต   พิกุลทอง   54127326009

นางสาวเบญจมาศ จันทราช

นางสาวเบญจมาศ จันทราช54127326028 การเงินการธนาคาร 01 ปี 2 บทที่ 5 ข้อ 2 เพราะข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่สำคัญในส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์สินเชื่อ ข้อมูลเชิงคุณภาพนั้นจะเป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า ว่าลูกค้ามีศักยภาพในการจะชำระหนี้คืนได้มากน้อยเพียงใด ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนแต่อาจใช้ในการตัดสินใจโดยความรู้สึก ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข ซึ่งรวบรวมมาเพื่อจะวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ข้อ 7 ไม่ต้องตรวจสอบอีก เพราะ งบการเงินที่ได้มาจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยนั้นเป็นงบการเงินที่มีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้

นางสาวบุณิกา เมืองทองแก้ว

นางสาวบุณิกา เมืองทองแก้ว 54127326004 การเงินการธนาคาร 01 ปี2 ถามท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 2 ตอบ เพราะ ข้อมูลคุณภาพเป็นข้อมูลที่ทำให้นักวิเคราะห์สินเชื่อได้ทราบประวัติ ของกิจการและความสามารถในการบริหารกิจการ เป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนแต่อาจใช้การตัดสินใจโดยความรู้สึกได้ ส่วนข้อมูลปริมาณ เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข ซึ่งจะรวบรวมมาเพื่อจะได้วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของผู้ประกอบการของผู้ของสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต โดยเฉพาะงบดุลและงบกำไรขาดทุน ข้อที่ 7 ตอบ คงจะไม่ต้องตรวจสอบอีก เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินที่มีขนาดใหญ่ที่มีความน่าเชื่อถือมาก มั่นคง มั่นใจ ความเสี่ยงที่จะเกิดจากผู้ที่มาขอสนเชื่อคงจะเกิดขึ้นได้ยากจึงน่าจะไม่มีความเสี่ยงของงบการเงิน

  1. เพราะเหตุใดการพิจารณาสินเชื่อจึงต้องวิเคราะห์ข้อมูล ตอบ 1.ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative) ข้อมูลส่วนนี้เป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับตัวเลข ข้อมูลสำคัญคือ ประวัติของกิจการและความสามารถในการบริหารกิจการ
       2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative) เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข  ซึ่งรวบรวมมาเพื่อวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ  ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต  โดยเฉพาะงบดุลและงบกำไรขาดทุน  รวมถึงประมาณการในอนาคต
    

    ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า เป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข รวบรวมมาเพื่อวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ดังนั้นพนักงานสินเชื่อจึงต้องวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ เพื่อที่จะมีข้อมูลที่ชัดเจนและสามารถวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น ทำให้ตัดสินใจได้ง่ายขึ้น

  2. ในกรณีผู้ขอสินเชื่อเป็นกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย งบการเงินที่ได้รับมา ยังคงต้องตรวจสอบความถูกต้องอยู่อีกหรือไม่ ถ้าต้องการตรวจสอบควรมุ่งประเด็นใดบ้าง ตอบ ไม่ต้องตรวจสอบ เพราะตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งมีความน่าเชื่อถือ มีการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีระบบ มาตรฐาน โปร่งใส ซึ่งดูแลโดยกระทรวงการคลัง เป็นแหล่งระดมเงินทุนที่มีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือ ซึ่งทำให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ลงทุนได้อย่างมาก
นางสาว เบญจมาศ มีเจริญ

ตอบคำถามท้ายบทที่ 5 ข้อ 2) เนื่องจากข้อมูลทั้ง 2 ประเภทมีความแตกต่างกัน โดยข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่รวบรวมเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า เป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนแต่อาจใช้การตัดสินใจโดยความรู้สึก ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข ซึ่งรวบรวมมาเพื่อจะวิเคราะห์หลักฐานทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ดังนั้นข้อมูลทั้ง 2ประเภทนี้จึงต้องใช้ร่วมกันเพื่อให้ข้อมูลที่วิเคราะห์สมบูรณ์

ข้อ 7) ในกรณีผู้ขอสินเชื่อเป็นกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย งบการเงินที่ได้รับมาไม่ต้องตรวจสอบ เพราะตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินที่มีขนาดใหญ่ซึ่งมีความน่าเชื่อถือ มีการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีระบบ มาตรฐาน โปร่งใส เชื่อถือได้ มั่นใจ ซึ่งดูแลโดยกระทรวงการคลัง เป็นแหล่งระดมเงินทุนที่มีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือ ซึ่งทำให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ลงทุนได้อย่างมากยากที่จะมีความเสี่ยงของงบการเงิน ชื่อ นางสาว เบญจมาศ มีเจริญ รหัสนักศึกษา 54127326002

ศุภนิดา สุวรรณรัตน์

คำถามบทที่ 5

ข้อ 2 ตอบ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพมีที่มาแตกต่างกัน กล่าวคือ การวิจัยเชิงคุณภาพมีพื้นฐานปรัชญาแบบธรรมชาตินิยม ในขณะที่การวิจัยเชิงปริมาณมีพื้นฐานแบบปรัชญาแบบปฏิฐานนิยม ดังนั้น การค้นหาความจริงด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพจะเน้นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามสภาพการณ์ที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งเรียกว่า แนวคิดแบบปรากฎการณ์นิยม แล้วอาศัยวิธีการพรรณนาเป็นสำคัญ ในขณะที่การค้นหาความจริงด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณต้องอาศัยกระบวนการหรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่อยู่บนรากฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์ และขั้นตอนที่มีระเบียบแบบแผน

ข้อ 7 ตอบ ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้อง เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินขนาดใหญ่ มีความมั่นคงทางการเงินและมีความน่าเชื่อถือ จึงไม่น่าจะมีความเสี่ยงและไม่มีปัญหาในการชำระหนี้ นางสาวศุภนิดา สุวรรณรัตน์ 54127326017

ข้อ 2 ในการพิจารณาสินเชื่อต้องวิเคราะห์ข้อมูลด้านเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ด้านปริมาณการให้สินเชื่อต้องทราบถึงปริมาณการขอสินเชื่อว่ามีมาแล้วกี่ครั้ง และปริมาณจำนวนเท่าใด เพราะหากเราอนุมัติสินเชื่อไปแล้ว จะได้ทราบถึงแนวโน้มในอนาคตจะได้พิจารณาอย่างรอบคอบ ส่วนด้านคุณภาพ เป็นกระบวนการวิเคราะห์คุณภาพของตัวโครงการที่จะขอสินเชื่อ ทั้งความสามารถของการบริหาร

ข้อ 7 ไม่ต้องมีการตรวจสอบเพราะตลาดหลักทรัพย์เป็นสถาบันการเงินขนาดใหญ่ และค่อนข้างมีระบบระเบียบอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องตรวจสอบเหมือนผู้ขอสินเชื่อรายอื่นๆ

รหัส 54127326026 การเงินการธนาคาร 01

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อ 2 เพราะข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่สำคัญจะประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลขและข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข และมีเป็นจำนวนมาก ผู้วิเคราะห์สินเชื่อจะต้องแยกข้อมูลที่ไม่จำเป็น โดยต้องพยายามรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและให้ครอบคลุมปัญหาที่มี ดังนั้นทางธนาคารจะต้องมีข้อมูลทั้งสองอย่างเพื่อที่จะ มีข้อมูลที่ชัดเจน เพื่อทำการวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น และตัดสินใจได้ง่ายขึ้นด้วย

ข้อ 7 ตอบ ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้อง เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินขนาดใหญ่แลมีการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีระบบ มาตรฐาน โปร่งใส เชื่อถือได้ ซึ่งดูแลโดยกระทรวงการคลัง เป็นแหล่งระดมเงินทุนที่มีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือ

54127326031 น.ส.ปรียารัตน์ ศรีจันทะ

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อ 2 ตอบ ต้องมีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพราะการพิจารณาสินเชื่อต้องมีข้อมูลที่เป็นรายละเอียดและข้อมูลที่เป็นตัวเลขเพื่อที่จะได้ทำการตัดสินใจและเป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาสินเชื่อด้วย

ข้อ 7 ตอบ ไม่ต้องตรวจสอบแล้ว เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีความน่าเชื่อถือพอ มีความมั่นคง และมีความเป็นมาตรฐานพอ ซึ่งดูแลโดยกระทรวงการคลัง เป็นแหล่งระดมเงินทุนที่มีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือ ซึ่งทำให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ลงทุนได้อย่างมาก

54127326008 น.ส.ณิชนารา บุญจนานนท์

คำถามบทที่ 5 ข้อ 2 เพราะว่าการพิจารณาสินเชื่อต้องประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขที่และข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลขเพื่อวิเคราะห์สินเชื่อข้อมูลที่ไม่จำเป็น รวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นระบบให้ครอบคลุมปัญหาที่มีและอาจจะมีในอนาคต ข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อใช้วิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า เป็นข้อมูลที่วัดเป็นตัวเลขไม่ได้ชัดเจนแต่อาจใช้การตัดสินใจโดยความรู้สึก พนักงานสินเชื่อที่มีประสบการณ์สูงจะสามารถวิเคราะห์ได้ดี ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลตัวเลขเพื่อมาวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต โดยเฉพาะงบดุลและงบกำไรขาดทุน รวมถึงประมาณการในอนาคต

ข้อ 7 ไม่ต้องตรวจสอบเพราะว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นสถาบันการเงินขนาดใหญ่และมีระบบการทำงานที่ดี โปร่งใส มีความน่าเชื่อถือได้สูง ถ้าอาจเกิดการผิดพลาดคงมีความรับชอบความเสี่ยงด้านการเงินได้ดี ได้มีแหล่งระดมทุนที่ดีและมีความเชื่อถือของนักลงทุนอีกด้วย

คำถามบทที่ 5

ข้อ 2. เพราะการจะให้สินเชื่อได้นั้นจะต้องพิจารณาถึงความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะได้รับการชำระคืนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยว่ามีมากน้อยเพียงใด ซึ่งต้องวิเคราะห์ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นการวิเคราะห์ผลการประกอบการในอดีตของผู้ขอสินเชื่อ โดยอาศัยข้อมูลจากงบการเงินเป็นหลัก และข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้าซึ่งใช้ข้อมูลในการตัดสินใจโดยความรู้สึก พนักงานสินเชื่อที่มีประสบการณ์สูงจะสามารถวิเคราะห์ได้ดี

ข้อ 7. ไม่ต้องตรวจสอบเพราะกิจการที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ส่วนมากเป็นกิจการที่มีขนาดใหญ่มักจจะมีความน่าเชื่อถือ มีมาตรฐานที่มั่นคง ซึ่งทำให้เกิดความเชื่อมั่นในกิจการอย่างมากยากที่จะมีความเสี่ยงในเรื่องการเงิน

คำถามประจำบทที่ 5 เพราะข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพและเป็นข้อมูลที่สำคัญและข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข และมีเป็นจำนวนมากและต้องมีพิจารณาที่ดีในการปล่อยสินเชื่อ แต่ละครั้งรวมถึงความเสี่ยง ดังนั้นทางธนาคารจะต้องมีข้อมูลทั้งสองอย่างเพื่อที่จะ มีข้อมูลที่ชัดเจน เพื่อทำการวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น และตัดสินใจได้ง่ายขึ้นด้วย

คำถามประจำบทที่ 7 ไม่ต้องตรวจสอบแล้ว เพราะ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีความน่าเชื่อถือและเป็นสถาบันการเงินขนาดใหญ่และมีระบบการทำงานที่ดีโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ คงมีเปอร์เซ็นความผิดพลาดในกรณีนี้น้อยมากเลยที่เดียว หรือถ้าเกิดความผิดพลาดก้อสามารถ แก้ใขสถาณการณ์ ได้อย่างดีเลย

ธีรธัช มาลีพันธ์ 54127326029

คำถามประจำบทที่ 5

ข้อที่ 2

      เพราะว่า ข้อมูลสินเชื่อจะประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลขและข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข  และมีเป็นจำนวนมาก  ผู้วิเคราะห์สินเชื่อจะต้องแยกข้อมูลที่ไม่จำเป็น  โดยต้องพยายามรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและให้ครอบคลุมปัญหาที่มี  และอาจมีในอนาคต  ซึ่งแยกได้เป็น

      1.ข้อมูลเชิงคุณภาพ  (Qualitative)  ข้อมูลส่วนนี้เป็นข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของลูกค้า ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับตัวเลข  ข้อมูลสำคัญคือ  ประวัติของกิจการและความสามารถในการบริหารกิจการ

      2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative) เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข  ซึ่งรวบรวมมาเพื่อวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของผู้ขอสินเชื่อ  ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต  โดยเฉพาะงบดุลและงบกำไรขาดทุน  รวมถึงประมาณการในอนาคต

ข้อ 7

      ในกรณีผู้ขอสินเชื่อเป็นกิจการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย งบการเงินที่ได้รับมา ไม่ต้องตรวจสอบความถูกต้องอีก เนื่องจากงบการเงินจากกิจการในตลาดหลักทรัพย์ เป็นงบการเงินที่มีความน่าเชื่อถือ จัดเป็นบริษัทขนาดใหญ่ มีความโปร่งใสทางงบการเงิน มีทุนจำนวนมาก

ชานน เกตุรัตน์ 54127326039

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท