บทบาทของสตรี ในสังคมเกษตรกรรม "คนทำนาดำ"


การทำนาดำ ก่อให้เกิดการสร้างงาน จ้างงาน สร้างรายได้ในชุมชน ในรูปแบบที่สอดคล้องกับยุคสมัย ไม่ต้องทิ้งถิ่นฐาน เป็นแรงงานข้ามถิ่น ถือว่าเป็นการส่งเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ชุมชน สังคมและประเทศชาติ

บทบาทของสตรี (สมาคมแม่บ้านและลูกๆ)

เคยนำเสนอในบันทึกก่อนหน้า ดังนี้ครับ

ชาวนาวันหยุด ตอนที่ 4.3 ลงแขกดำนา แบบร่วมสมัย

ชาวนาวันหยุด ตอนที่ 8.9 การเเบ่งหน้าที่งานในชุมชนคนทำนาดำแบบร่วมสมัย

แม่บ้าน ผู้หญิง และลูกสาว ก็รวมตัวช่วยกัน  เป็นสมาคมสตรี ลงแขก เพาะกล้า อนุบาลกล้า หมุนเวียนที่ต้องใช้ปักดำภายในชุมชน  หากมีนอกชุมชน มาติดต่อเพาะกล้าสำหรับการปักดำ หรือดำซ่อม ก็สามารถจำหน่ายสร้างรายได้ ให้กับสมาชิกภายในครอบครัว -แม่บ้านเตรียมกับข้าว พร้อมส่งถึงริมคันนา

เพิ่มเติม ก็คือ ไปช่วยดูแลเเปลงนา ไม่ว่าจะเป็นการพรวนหญ้า หรือการดูแลเป็ดที่เเปลงนา

 

เพาะกล้า

 

การเเผ่กล้า 

 

การเเผ่กล้า  

การสำรวจเเปลงกล้า

 

การม้วนกล้า

 

พรวนหญ้าในร่องนาดำ

การดูแลเป็ด



ความเห็น

ดีจังเลยครับ ^^ ความสามัคคี วิสัยทัศน ความขยัน ร่วมแรงร่วมใจ

สวัสดีค่ะ

แวะมาชมบันทึกนี้ค่ะ

พร้อมกับมาเรียนรู้ด้วยนะคะ

ขอบคุณที่นำมาแบ่งปันให้ได้ชมค่ะ

ขอบคุณค่ะ

มีตัวแทนฝ่ายหญิงไทยที่จะต่อสู้หญิงเกาหลีแล้วครับ

http://www.gotoknow.org/blog/up-community/463170

 สวัสดีครับ พี่ Ico48

มากกว่าการทำนาดำ แต่เป็นการ ปลูกฝัง ความสัมพันธ์ที่ดีในชุมชนครับ

และเป็นแบบอย่าง หน้าที่งานของแม่บ้านในชุมชนให้กับชุมชนอื่นได้ศึกษา ครับ

 

Ico48 ขอบคุณครับคุณต้นเฟิร์นที่แวะมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ขอที่อยู่สวนลุงมีด้วยค่ะ อยากไปศึกษาดูงานด้วยคน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท