ท่านอนเพื่อสุขภาพ


การนอนตะแคงขวา (สีหไสยาสน์) นั้น หัวใจอยู่ด้านบน ก็ยิ่งดูดมากกว่าดัน เท่ากับเป็นการซ้ำเติมหัวใจที่ทำงานในเวลากลางวัน

ท่านอนเพื่อสุขภาพ

 

นอนท่าไหนดี ตะแคงขวา ตะแคงซ้าย นอนหงาย นอนคว่ำ

 

ผมจะลองวิเคราะห์ตามหลักการทางวิศวกรรมศาสตร์

 

ปกติคนเรายืน นั่ง ทำงานทั้งวัน หัวใจอยู่ราวนมซ้าย แต่ปริมาตรด้านล่างหัวใจมากกว่าด้านบนสักสองเท่าเห็นจะได้ ..ดังนั้นวันทั้งวัน หัวใจ “ดูด” มากกว่า “ดัน” กล่าวคือ ดูดเลือดจากด้านล่าง และดันเลือดสู่ด้านบน

 

พอเรานอน หัวใจจะได้พักผ่อน ดังนั้นหัวใจควรทำงานตรงข้าม คือ ดัน มากกว่า ดูด เพื่อชดเชยกันให้สมดุล

 

การนอนตะแคงขวา (สีหไสยาสน์) นั้น หัวใจอยู่ด้านบน ก็ยิ่งดูดมากกว่าดัน เท่ากับเป็นการซ้ำเติมหัวใจที่ทำงานในเวลากลางวัน

 

การนอนตะแคงซ้าย ดันมากกว่าดูด น่าจะทำให้สมดุล แต่ ทั้งตะแคงขวาหรือซ้ายก็ต้องทับมือ ทับแขนตัวเอง ทำให้เลือดไหลลำบาก ทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น

 

นอนหงาย หัวใจไม่ต่ำไม่สูง อยู่ในแนวระนาบ ก็ทำงานเบากว่านอนตะแคงเสียอีก

 

นอนคว่ำ ..คล้ายๆ นอนหงาย แต่อาจหายใจได้ดีกว่า ดังนั้นเด็กเกิดใหม่จึงนอนคว่ำ

 

ถ้าให้ผมจัดอันดับการนอน ผมจะจัดดังนี้

 

1.นอนคว่ำ  2. นอนหงาย 3. ตะแคงซ้าย 4.ตะแคงขวา

 

แต่การนอนคว่ำ มีข้อเสียคือ ทับอวัยวะเพศ อาจทำให้เกิดความกำหนัด (ยกเว้นพระอริยเจ้า นอนคว่ำ ดีที่สุดแน่ ๆ)

 

....คนถางทาง (๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๔)

หมายเลขบันทึก: 455969เขียนเมื่อ 25 สิงหาคม 2011 00:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 พฤษภาคม 2012 00:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้าจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

I am not a doctor.

I do not hear of blood pressure down on our toes is higher than BP on the top of our head (when we stand).

I think may be our blood fill veins and artilleries and distribute (high)pressure more evenly (in capillaries)

- so our heart (pump) only 'circulates' blood --much lower energy requirement,

-- not sucks from one pool and pushes to another pool at higher position (potential).

[A friend had recently a stroke, 4 heart bypasses and about to go to a heart rhythm (pump-valve synchrony) adjustment.]

I learned a little on (heart) valves and how they must synchronize with the (heart) beats and came to realize that our heart (pump) is a wonder (like all organs -Nature- has tested for many million years) -reliable and fit for the purpose.

But lives are not forever (we, Buddhists know this), when a failure starts --a domino effect-- takes over and our system soon collapses. (I think it is much the same as when there a flaw in a structure --the whole system under over-stress soon collapses.)

Surely, some medical guru readers out there can help --enlighten us--.

So, if you can add to what we are talking about, please, please ;-)

ท่าน sr ครับ ผมไม่ได้บอกว่า bp ที่หัวต่ำกว่าที่เท่านะครับ เผลอๆ อาจจะพอๆกันด้วยซ้ำ เพราะที่หัวแม่เท้ามีน้ำหนักของ gravity กดไว้ ส่วนที่หัวใจต้องส่งแรงดันมากเพื่อเอาชนะ gravity

แต่ในขณะเรานอน head ของการไหลในท่อมันต่ำ มีแต่ friction ในท่อเท่านั้นที่เป็นแรงต้าน หัวใจก็ทำงานเบาลงกว่าการยืน ครับ

น่าไปสำรวจพวกสัตว์ทั้งหลาย ว่ามันนอนตะแคงหรือคว่ำกันอย่างไร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท