ดัชนีที่ 9.3 การจัดการความรู้ในองค์กร
ปฏิบัติการที่ดี
สำนักงานเลขานุการ มีการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 11 “ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน”
เกณฑ์การตัดสิน
(1) มีนโยบายและแผนด้านการจัดการความรู้ในองค์กรอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
(2) มี (1) + มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน
(3) มี (2) + มีการดำเนินงานตามนโยบายและแผน
(4) มี (3) + มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
(5) มี (4) + มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาการดำเนินงาน
การประเมินตนเอง (SAR)
ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ : นายอนุวัทย์ เรืองจันทร์
ผู้เก็บรวมรวบข้อมูล : นางนิตยา รอดเครือวัลย์ เบอร์โทรภายใน : 6235
ผลการประเมินตนเองปีที่แล้ว : ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : เป้าหมายปีต่อไป :
ผลการดำเนินงาน (หมายเลขหลักฐานอ้างอิง) :
1. สำนักงานเลขานุการใช้นโยบายและแผนด้านการจัดการความรู้ของคณะ{9.3.1 }
2. มีเลขานุการคณะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน {9.3.2 }
3. มีการดำเนินงานตามนโยบายและแผน {9.3.3 }
4. มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน {9.3.4 }
5. มีการนำผลประเมินมาใช้ในการพัฒนางาน {9.3.5}
TOWS Analysis :
ปัจจัยคุกคาม : -
โอกาส : มหาวิทยาลัยมีการจัดอบรมเรื่องการจัดการความรู้ให้กับเลขานุการคณะ ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ และผู้รับผิดชอบงานวิจัย
จุดอ่อน : -
จุดแข็ง : มีการนำเครื่องมือการจัดการความรู้ (AAR) มาใช้หลังการไปประชุม อบรม สัมมนา และเผยแพร่ให้บุคลากรในคณะได้ทราบ ผ่าน Blog
โครงการหรือกิจกรรมในปีต่อไป
รายการหลักฐานอ้างอิง
9.3.1 นโยบายและแผนการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2549 (งานนโยบายและแผน สริตา)