84. สุนทรียปรัศนี...ตอนที่ 4 คนละไม้คนละมือ..ร่วมกัน


“เริ่มที่ปัญญาของชุมชน...แทนการเริ่มที่ปัญหานะคะ”

            เล่าต่อจากตอนที่แล้ว...พ่อครู อุทัยวรรณ  เปรียบเทียบการทำงาน...

  • การทำงานในชุมชนแบบเดิม 

มีฐานคิด...                   ความจำเป็นความขาดแคลน

จุดมุ่งหมาย....              การเปลี่ยนแปลงชุมชน /องค์กร

การสื่อสาร...                ปัญหาและการใส่ใจ

ผู้นำการเปลี่ยนแปลง... มืออาชีพ  ผู้เชี่ยวชาญ

                                    นักเทคโนโลยี

        ทัศนะของคน....            เป็นผู้รับบริการ  ลูกค้า  ผู้ป่วย

  • การทำงานแบบทางเลือกใหม่

มีฐานคิด...                   สินทรัพย์ชุมชน

จุดมุ่งหมาย...               เพิ่มความสามารถชุมชน  สร้าง

                                    ชุมชน

การสื่อสาร ...               พรสวรรค์  ความสำเร็จ ความหวัง

                                    ความฝัน

ผู้นำการเปลี่ยนแปลง... ผู้นำธรรมชาติ  สัมพันธภาพ

ทัศนะของคน...            พลเมือง  ผู้ผลิต  เจ้าของ ผู้ร่วม

                                   พัฒนา

 

          จะเห็นว่าแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบดั้งเดิมสอนเรา  ให้มุ่งหา   ค้นหาสาเหตุของปัญหา  และวิเคราะห์ปัญหาอย่างถี่ถ้วน  เพื่อให้ได้ข้อมูลออกมาหลายหน้าต่อหน้า    ว่ามีสิ่งใดที่ผิดพลาด และร่วมวิพากษ์  วิจารณ์ในเชิงตำหนิติเตียนการทำงาน      ที่ผิดพลาด  ผลลัพท์ที่ได้  คือ การมุ่งเป้าไปที่องค์กร/ชุมชน    ซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดความร่วมมือหรือทางเลือกใหม่ที่ดีกว่าเดิมแต่อย่างใด  ในทางกลับกันยังทำให้เกิดการร้าวฉาน  การต่อต้าน และทำร้ายจิตใจของผู้คนในองค์กร/ชุมชนอย่างเป็นทวีคูณ

           แต่ในทางกลับกันการทำงานแบบใหม่ที่เรียกว่า สุนทรียปรัศนี  เป็นรูปแบบหนึ่งของการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหา  โดยให้ความสำคัญกับคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  แทนการแก้ไขแบบเดิมที่แก้อย่างไรไม่สำเร็จ  เพราะแก้ปัญหาโดยคน  ไม่ใช่ระบบ/วิธีการ

        วงจรสุนทรียปรัศนี..


                                     

         การพัฒนาโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน  จะผลักดันให้เกิดการนำสุนทรียปรัศนีมาเป็นตัวทำเกิดความเคลื่อนไหว  ความคิดที่เป็นกุญแจสำคัญในการทำงานร่วมกันนี้คือ  การคิดบวกและการมองในส่วนที่ดีที่ชุมชนนั่นแล...

           ขอบคุณค่ะ  หวังว่า “บันทึกสุนทรียปรัศนี”  คงมีความหมายกับท่านผู้อ่านบ้างนะคะ  และอย่าลืมว่าจุดตั้งต้นของการทำงานร่วมกันต่อไป  คือ...

“เริ่มที่ปัญญาของชุมชน...แทนการเริ่มที่ปัญหานะคะ”

หมายเลขบันทึก: 280219เขียนเมื่อ 26 กรกฎาคม 2009 01:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 21:09 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (30)
  • มาดูการคิดบวก
  • เพิ่งกลับมาจากเกาะช้าง
  • ไม่คิดว่าพี่จะมาดึกขนาดนี้
  • ฮ่าๆๆ
  • มาให้กำลังใจครับ

P

 

  • อุตส่าห์แอบเข้ามาดึกๆ
  • ยังมีคนแอบมาดึกกว่าอีก 
  • ไปทำอะไรกะช้าง  เอ๊ย..เกาะช้าง  อิอิ
  • รักษาสุขภาพด้วย
  • หนาวนี้...อย่าลืมช่วยพี่เขี้ยว  คิดดี  คิดบวก
  • แล้วเอามาทำกิจกรรมแบบบวกๆ
  • การมีส่วนร่วมด้วยนะครับ

P

 

  • แหม
  • แม่ลูกสุขสันต์
  • เมื่อกี้เพิ่งไปจีบลูกชายมา
  • ของแม่หมอมาเช่นกันค่ะ
  • มาขอบคุณ ที่ไปเยือน กล้วยไม้ป่าฯ เอื้องดอกมะขามฯ นะครับ
  • ใช่แล้ว...ต้องเปลี่ยนวิธีคิด
  • เอาปัญญา เอาสินทรัพย์ที่มีเป็นตัวตั้ง
  • ว่าแต่ว่า...ชอบภาพนี้จัง  มีชีวิตชีวามากเล้ย...
  •  

พี่เจ๊จ๋า

ขอบคุณในประกายที่จุดให้ค่ะ กำลังให้ความสำคัญมากๆ กับสิ่งนี้ค่ะ

แบบเดิม

  • การสื่อสาร...  ปัญหาและการใส่ใจ

แบบทางเลือกใหม่

  • การสื่อสาร ...  พรสวรรค์  ความสำเร็จ ความหวังความฝัน

    มาชวนไปเข้าร่วมวงน้ำชากัน นับถอยหลัง 5 4 3 2 1 ...(น้องจะเอาพวงกุญแจ อิอิอิ เห็นแก่ของชำร่วยมีตราสัญลักษณ์^^)>>

    สามคำถามจากวงสนทนา World cafe’ ออนไลน์

ยังคุยกับอาจารย์ขจิตถึงสุนทรียปรัศนีย์อยู่เลยครับ ตอนลงมาตราด

         เป็นประโยชน์มากครับ

เริ่มต้นที่การค้นหาความสุข  แล้วนำความสุขไปให้คนที่สุขน้อยกว่า เยี่ยมมาก

 

มาเยี่ยมชมกิจกรรมต่อคะ  แค่เห็นภาพก็รู้เป้าหมายของกิจกรรมแล้วคะ  เยี่ยมจริงๆ  ชัดเจน ไม่ต้องบรรยาย และได้ข้อคิดหลายแง่มุม

โดยแบบบูรณาการ ของการมีส่วนร่วม ทุกอย่าง  โดยปรับปรุงฐานคิดเดิมๆ นำมาเปลี่ยนแปลงแก้ไข โดยเอาสินทรัพย์ชุมชนเป็นทุน

โดยเอาศักดิ์ศรีคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ให้คิดดี คิดบวก เยี่ยมๆ

ใช้ปัญญาเป็นอาวุธ  และการมีส่วนร่วม เคียงบ่าเคียงไหล่แก้ปัญหาด้วยปัญญา  สู้ สู้ คะ  กิจกรรมดีๆ มีข้อคิดทั้งนั้นเลย 

สวัสดีค่ะพี่เขี้ยว

  • ครูอิงเว้นวรรคไปหลายวัน
  • เนื่องจากมีภารกิจค่ะ
  • กลับมาอีกที พี่เขี้ยวก็ติดรางวัลสุดคะนึง สุดโก้เลยค่ะ
  • ขอแสดงความยินดีนะคะ แม้จะมาช้าไปหน่อยแต่ก็จริงใจ
  • คิดถึงพี่เขี้ยวจึงแวะมาหา
  • อ่านบันทึกพี่เขี้ยวแล้ว มีความคิดเห็นเหมือนพี่สุค่ะ อิ..อิ..อิ..
  • ไม่ต้องบรรยาย
  • ขอบคุณค่ะที่แวะไปรำลึกถึง ครูจูหลิง ที่ลานเก็บเพลงโปรด ค่ะ
  • มีความสุขทุก ๆ วันนะคะ

P

 

  • หวัดดีค่ะ
  • ขอบคุณที่แวะเวียนมา

P

 

  • เริ่มจากการใช้ปัญญา
  • แทนการแก้ที่ปัญหา
  • และสิ่งที่ขาด
  • ไม่งั้นเราจะแก้ไม่ได้ซักที  อิอิ

P

 

  • ตามไปให้กำลังใจมาแล้ว
  • เยี่ยมเลยค่ะ
  • ขอให้ได้พวงกุญแจ นิ

P

 

ขอบคุณอาจารย์ที่มาหา

พรุ่งนี้เตรียมตัวทำงาน

ระวังหวัดด้วยนะคะ

ช่วงนี้มาแรง

P

 

  • อุ๊ยเขี้ยวมีความสุขมาก
  • เพราะมีคนหล่อๆมาเยี่ยมทุกวัน
  • วันไหนหายไป
  • เอ..เป็นอะไรหรือเปล่าน๊า...
  • เป็นห่วงค่ะ

P

 

  • ไปเรียนรู้จากอาจารย์ 3 วัน
  • ได้โครงการ 1 โครงการ
  • ซึ่งคิดด้วยกัน  เขียนด้วยกัน
  • โดยเริ่มจากพรสวรรค์ที่แต่ละคนมีค่ะ

P

 

  • ขอบคุณน้องอิง
  • ที่แวะมาหา
  • ไปบันทึกน้องกลับมาแล้วจะมีความสุข
  • เพราะได้อ่านเรื่อง
  • ที่อ่านแล้วได้ผ่อนคลายเสมอๆ

P

 

  • สุนทรียปรัศนี
  • เป็นเรื่องที่มีมานานแล้ว
  • แต่บ้านเราเพิ่งรู้จัก
  • เพราะเราไปรู้จัก   สุนทรียสนทนากันมาก่อน
  • ขอบคุณอาจารย์ค่ะ

สวัสดีค่ะ  แวะมาคิดถึงพี่เขี้ยวค่ะ

แวะมาขอบคุณที่ไปเยี่ยมชมขอรับ..

เข้ามาประจำแต่มิได้ฝากรอยจารึกไว้ขอรับ..

ตามาเชียร์และเปนกำลังใจด้วยค่ะ..

สู้ๆ..ค่ะพี่เขี้ยว..อิิอิ..

^^

P

 

  • เดินทางำปประชุม
  • โดยสวัสดิภาพนะคะ
  • คิดถึงแย่เลย

P

 

  • นมัสการพระคุณเจ้า
  • ขอบพระคุณค่ะ
  • ที่มาเยือน

P

 

  • ขอบคุณน้องครูแอ๊ว
  • มาเข้าโครงการด้วยกันไหมคะ

พี่เจ๊..อาหารเกาหลี...สนใจไหม...กริ๊งมานะคะ

ชักคิดถึงพ่อครูอุทัยวรรณจังเลย เสียดายที่กรมจะจัดประชุม"สุนทรียปรัศนี ข้าน้อยไม่สามารถเข้าร่วมอบรมได้ แต่อย่างไรก็อ่านจากเจ้เขี้ยวคนเก่งก็ได้ความรู้เนอะ

การพัฒนาโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน  คือ  ทางสร้างการพัฒนาอย่างแท้จริงค่ะ

แวะมาทักทาย

มีความสุขมากๆนะคะ

ขอบคุณค่ะ

สวัสดี ครับ

คุณมนัญญา

ไม่ได้มาชวนเกี่ยวก้อยไปไปหรอกนะครับ

แต่มาส่งผ่านความระลึกถึง ให้กับคนที่ยิ้มกว้างได้เท่าใจ

เช่นคุณ...

มีความสุขกับงานที่ทำนะครับ

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท