โค้ดHi5 โค้ดเพลงHi5ตลอดเวลาคุยสด
ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้กันอย่างแพร่หลายในทุกวงการ
ซึ่งอาจจะเป็นเพราะราคาที่ลดลงอย่างรวดเร็ว ความสะดวกสบายในการใช้งาน
การตอบสนองต่อผู้บริโภคด้านข้อมูลข่าวสาร เป็นไปอย่างครบวงจร ในทุก ๆ ด้าน
มีระบบมัลติมีเดียที่มีความหลากหลาย ซึ่งเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งาน
รวมทั้งมีโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่สามารถ
สื่อสารกันแบบออนไลน์ระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างง่ายดาย
แต่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั้งหลายก็อย่าลืมคำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ
ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานาน ๆที่มีผลต่อสรีระทางร่างกาย
สำหรับคนที่วันๆ ต้องนั่งทำงานอยู่หน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ
คงต้องเกิดอาการปวดตา ตามัว ตาแห้ง สายตาล้า หรืออาการทางสายตาอื่นๆ กันบ้าง
ปัจจุบันอาการทางสายตาที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์มีเพิ่มขึ้น
จากสถิติพบว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จำนวนมากกว่า 50% มีอาการปวดตา ตามัว ตาแห้ง
สายตาล้า และปวดศีรษะ รวมทั้งมีอาการอื่นๆ เช่น ปวดเหมื่อยคอและหลัง
ซึ่งอาการเหล่านี้มักจะเกิดขึ้นกับผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์มากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน
และยังมีตัวแปรอีกหลายประการที่ทำร้ายสายตาของเรา
เช่น ชนิดของจอคอมพิวเตอร์ แสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์ ความสว่างของห้อง ท่านั่ง ฯลฯ
< จอภาพคอมพิวเตอร์แผ่รังสีได้หรือไม่ >
จอภาพคอมพิวเตอร์สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป
ในรูปของคลื่นแม่เหล็กและคลื่นไฟฟ้า ได้แก่ ไฟฟ้าสถิต คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่ต่ำ
(extremely low frequency หรือ ELF)
และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ต่ำมาก (very low frequency, VLF)
นอกจากนี้แล้ว ยังมีรังสีไมโครเวฟ รังสีเหนือม่วง ซึ่งอาจจะมีอันตรายต่อสุขภาพ
เช่น การมองจอภาพที่มีแสงจ้า หรือ แสงสะท้อนเป็นระยะเวลานาน
อาจจะทำให้เกิดปัญหาอาการปวดตา สายตาล้า อาการปวดศีรษะ
ซึ่งเกิดมาจากการบีบของกล้ามเนื้อตา
< วิธีการถนอมสายตาเมื่อต้องใช้คอมพิวเตอร์ >
วิธีทดสอบง่ายๆ ทำได้โดยลองปิดสวิตช์จอภาพ แล้วเอามือหรือแขนไปจ่อไว้ใกล้ๆ จอภาพให้มากที่สุด จอภาพที่มีการกระจายรังสีต่ำจะแทบไม่รู้สึกถึงไฟฟ้าสถิตตามขนที่ผิว รวมทั้งความสว่างภายในที่ทำงาน ลดแสงสะท้อนรบกวน เช่น ปิดไฟดวงที่สะท้อนจ้าลงบนจอคอมพิวเตอร์ หากทำงานกับคอมพิวเตอร์ในสภาพแวดล้อมที่มีแสงจ้าและจอภาพมีความสว่างมาก ก็จะยิ่งส่งผลเสียต่อดวงตาได้ง่ายและรวดเร็ว จะรู้สึกว่ามีอาการปวดร้าวดวงตาเร็ว และแสบตาอย่างรุนแรง หรือประมาณช่วงแขนเอื้อม และปรับให้ต่ำกว่าระดับสายตาประมาณ 15-20 องศา หากระยะห่างระหว่างตากับจอภาพไม่สัมพันธ์กัน จะทำให้เกิดอาการเมื่อยล้าและปวดตาได้ง่าย จากจอคอมพิวเตอร์ได้บ้าง ไม่ได้บ้าง แล้วแต่คุณภาพของสินค้า แต่อย่างน้อยๆ ก็ช่วยลดแสงจ้าจากจอคอมพิวเตอร์ลงได้ จากการจ้องเพ่งคอมพิวเตอร์ได้ The National Institute of Occupational Safety and Health (NIOSH) แนะนำให้หยุดพักสายตาครั้งละ 15 นาทีทุกๆ 2 ชั่วโมง ผู้เชี่ยวชาญบางคนก็แนะนำว่าควรจะหยุดพักบ่อยๆ โดยแต่ละครั้งใช้เวลาเพียงเล็กน้อย เช่น พักสายตาทุก 30 นาที โดยหลับตาหรือมองไปไกลๆ สัก 5-10 นาที แล้วจึงเริ่มทำงานต่อไป ก็จะช่วยถนอมสายตาได้ 10. เลือกใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ เวลาพิมพ์งาน ควรเลือกใช้ขนาดของตัวอักษรที่ใหญ่พอ และปรับความเข้มของตัวอักษรให้มากขึ้น ซึ่งขนาดตัวอักษรและความเข้มที่เหมาะสม จะสังเกตได้จากการที่เราอ่านตัวอักษรได้ในระยะห่างเป็น 3 เท่าของระยะที่นั่งทำงาน หรือเลือกใช้จอคอมพิวเตอร์ชนิด LCD (จอแบน) ซึ่งจะช่วยถนอมสายตาได้ดีกว่าจอแบบเก่า (CRT) ที่ช่วยให้สบายตาภายใต้แสงจากหลอดไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์ และเพื่อลดแสงสะท้อนจากจอภาพ โดยเลือกแว่นตาที่มีกำลังขยายสำหรับระยะ 50 - 70 ซ.ม. (ระยะกลาง) ซึ่งค่ากำลังของเลนส์ ดังกล่าวจะแตกต่างจากเลนส์อ่านหนังสือ หรือเลนส์มองใกล้ทั่วไป ควรตรวจเช็คสุขภาพตาบ้าง 1. ควรเลือกจอภาพที่มีการกระจายรังสีต่ำ
2. ปรับแสงและความคมชัดของหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้รู้สึกสบายตา
3.ตำแหน่งของจอภาพควรห่างจากดวงตาประมาณ 18-24 นิ้ว
4.การใช้แผ่นกรองรังสีติดไว้ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ แม้ว่าจะช่วยลดการกระจายรังสี
5.ทำความสะอาดหน้าจอคอมพิวเตอร์อยู่เสมอ เพราะฝุ่นจะทำให้เกิดการสะท้อนมากขึ้น
6.การหยุดพักหรือเปลี่ยนตารางเวลาการทำงานใหม่ จะช่วยให้สายตาคลายความเมื่อยล้า
7. อาจใช้ผ้าชุบน้ำหมาดๆ วางไว้บนเปลือกตา และหลับตาสัก 2-3 นาที หรือจะให้ดีกว่านั้นก็คือ ปิดไฟ นอนพักสักครู่
8.สำหรับผู้ที่ใส่คอนแท็กเลนส์ อาจจะเกิดอาการตาแห้งเพราะขาดน้ำหล่อเลี้ยง เพราะห้องที่มีคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ ก็มักจะมีเครื่องปรับอากาศอยู่ด้วย เมื่อบวกกับความร้อนจากเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำให้อากาศแห้ง การหยอดน้ำตาเทียมจะช่วยได้
9. ควรกะพริบตาให้บ่อยครั้งกว่าปกติ เพื่อให้มีน้ำหล่อเลี้ยงดวงตาอยู่เสมอ ภายใน 10 วินาที ลองพยายามกะพริบตาสัก 1-2 ครั้ง จะช่วยลดความอ่อนล้าของสายตาได้มาก
11. เลือกใช้แว่นที่เหมาะสมกับการใช้คอมพิวเตอร์ ควรเลือกใช้เลนส์สีเขียวอ่อน
12. ผู้ที่ใส่คอนแท็กเลนส์ และมีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำ
นอกจากนี้ การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ทิ้งเรื่องเครียดๆ ไว้ที่ทำงาน
ก็จะช่วยให้ร่างกายสดชื่น หายเหนื่อยเมื่อยล้า พร้อมสู้งานในวันถัดไปได้
ขอให้พี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ ทุกท่าน มีสุขภาพที่แข็งแรง สายตายาวไกล...
สร้างสรรค์บันทึกดี ๆ กันต่อไปนะคะ
ขอขอบคุณข้อมูลจาก สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
เมื่อ ศ. 06 มี.ค. 2552 @ 22:13
1168517 [ลบ]
สวัสดีครับ...
โลกไอทีทุกวันนี้มหัศจรรย์ยิ่งนัก ... ทำให้มิตรภาพเดินทางถึงกันเร็วราวกับกำลังนั่งอยู่ข้างๆ กัน
....
ขอบคุณครับ