เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้รับการพิจารณา


"เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้รับการพิจารณา"

         เช้าวันพฤหัสบดี ที่ 2 มีนาคม 2549 วันที่ตอนเช้าพรรคการเมือง ส่งผู้สมัครแบบปาร์ตี้ลิส โดยที่มีพรรคประชาธิปัตต์ พรรคชาติไทย และพรรคมหาชนบอยคอตการเลือกตั้ง

          แต่เช้าวันเดียวกันนี้ สำนักหอสมุด เชิญ รองศาสตราจารย์ ดร.รัตนะ  บัวสนธิ์ มาเล่าให้บุคลากรสำนักหอสมุดฟังว่า "เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้รับการพิจารณา" ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งในการส่งเสริมให้บุคลากรสำนักทำวิจัยสถาบัน โดยมีผู้ดำเนินกิจกรรม คือ พี่อ๋า น.ส.รัชนีพร เป็นผู้ประสานงาน เชิญวิทยากร

          ซึ่ง ดร.รัตนะ ได้ชี้ให้เห็นว่าเราจะสามารถทำวิจัยสถาบันได้อย่างไรบ้าง  เช่น การวิเคราะห์ภาระงาน การวิจัยติดตามการปฏิบัติงานตามภารกิจ การวิจัยเชิงประเมิน ซึ่งมีแง่คิดมากมายหลายประเด็น รวมทั้งการเขียนรายงานการวิจัย การเขียนโครงร่างการวิจัย การจัดทำงบประมาณสำหรับงานวิจัย โดยมีบุคลากรห้องสมุดหลายคนสนใจ

   
   
   
   
หมายเลขบันทึก: 17367เขียนเมื่อ 2 มีนาคม 2006 11:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:17 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)
เสียดาย ติดคุมสอบ หวังว่าจะมีข้อมูลมาเสนอให้คนที่ไม่ได้เข้าร่วมงานนี้ได้รับความรู้ด้วยนะคะ
พี่วันเพ็ญคะ ขอเวลากลั่นกรองจาก note ที่ยุ่งเหยิงของตัวเองนิดนึงนะคะ  แล้วจะเขียนลง blog ให้หลายคนที่ไม่ได้เข้าอ่านด้วยค่ะ ...
เอาใจช่วยทุกคนครับ งาน "นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 2 ห้องวิจัยสถาบัน" ปีนี้คึกคักกว่าปีที่แล้วแน่

สวัสดีคะ อ.หนึ่ง ฯ

     ขอร่วมแสดงความคิดเห็นว่าสนใจหัวข้อนี้ด้วยคนคะ  อ่านจากชื่อประเด็น "เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้รับการพิจารณา"อ่านแล้วยังไม่ได้รับเทคนิคว่าจะต้องเขียนรูปแบบใด  อ.จะกรุณาเล่าให้ฟังว่าความสำเร็จของอาจารย์ที่ทำงานวิจัยเป็นอย่างไร  จะได้ให้เพื่อนร่วมวิชาชีพได้นำไปต่อยอดได้

ขอบคุณมากๆ คะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท