สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนท้องถิ่น (สพท.)


ชุมชนท้องถิ่นถูกทำให้อ่อนแอ ตกเป็นเหยื่อ เราเป็นผู้มีโอกาส ไปทำงานอาชีพ ทำงานราชการ เป็นนักการเมือง มีเงิน มีอำนาจล้วนชั่วคราว ทำไมไม่มาพัฒนาบ้านที่เกิด ที่อยู่ จะก่อผลระยะยาวถึงยามแก่ชรา สืบทอดถึงลูกหลาน มีความสัมพันธ์อย่างจริงใจและอบอุ่น สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนท้องถิ่น จะเป็นกลไก ผนึกพลังชุมชนกับ อปท. พัฒนาชุมชนท้องถิ่นด้วยภาคประชาชนเอง
(ร่าง) ผังหลักสูตร    สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนท้องถิ่น (สพท.)   ประจำปี 2551  สมพงษ์  ร่างวันที่  18 ก.พ. 2551

เหตุจูงใจ :

ชุมชนท้องถิ่นถูกทำให้อ่อนแอ ตกเป็นเหยื่อ   เราเป็นผู้มีโอกาส ไปทำงานอาชีพ ทำงานราชการ  เป็นนักการเมือง มีเงิน มีอำนาจล้วนชั่วคราว ทำไมไม่มาพัฒนาบ้านที่เกิด ที่อยู่  จะก่อผลระยะยาวถึงยามแก่ชรา สืบทอดถึงลูกหลาน  มีความสัมพันธ์อย่างจริงใจและอบอุ่น   สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนท้องถิ่น  จะเป็นกลไก ผนึกพลังชุมชนกับ อปท. พัฒนาชุมชนท้องถิ่นด้วยภาคประชาชนเอง

วิเคราะห์สภาพชุมชนท้องถิ่น :

ชุมชนเผชิญปัญหาวิกฤต  การแย่งชิงทรัพยากรสิ่งแวดล้อม  ความยากจน  รากเหง้าถูกทำลาย  ตกเป็นผู้พึ่งพา   ประชาชนยังไม่ได้เข้าร่วมกับ อปท      องค์กรปกครองท้องถิ่นถูกดึงอำนาจกลับ  วัตถุประสงค์ สร้างองค์ความรู้ใหม่  นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงทะลุกรอบ      

พื้นที่เป้าหมาย:  ตำบล  หมู่บ้าน ที่มีศักยภาพ  เป็น “พื้นที่คานงัด”  ที่จะสร้างผลสะเทือนสู่แนวทางพัฒนาใหม่ของชุมชนท้องถิ่น  ปี 2551 พื้นที่แกนนำ 30  ขยายผล 100

 

วิธีการ : วิเคราะห์ภาพรวม เลือกจับประเด็นที่จะเป็นจุดเปลี่ยน   ค้นหาแนวทางใหม่พร้อมกัน ใน ๓  มิติ (ชุมชนท้องถิ่น   งานวิชาการ   และ กฎหมาย/การบริหารกลาง)

เนื้อหายุทธศาสตร์ : การปกป้องทรัพยากรสิ่งแวดล้อม    สวัสดิการและสุขภาวะชุมชน    การศึกษาท้องถิ่นกระบวนการเรียนรู้ : สร้างแรงบันดาลใจ   สังเกต    เรียนรู้จากปฎิบัติ   สร้างนวัตกรรมใหม่ในท้องถิ่น               w เริ่มต้น จากกิจกรรมเฉพาะหน้าที่(ชาวบ้าน  ผู้บริหาร อปท.) เห็นความสำคัญ ได้ประโยชน์ทันที  เช่น  การฝึกอาชีพ  รักษาสิ่งแวดล้อม   กลุ่มสวัสดิการ                              ศูนย์เด็กเล็ก   การทำแผนแม่บทชุมชน  ฯลฯ           w พัฒนากระบวนการ - เรียนรู้หมู่บ้าน   ทำงานร่วมกัน  รู้จักคน    มีมุมมองใหม่(เพื่อความยั่งยืน)  ทำงานต่อเนื่อง             wพัฒนาคน กลไก –  จัดตั้งกองทุน   สร้างคน/สร้างองค์กร  สร้างกลไกท้องถิ่น  ออกเทศบัญญัติ  ออกกฎหมู่บ้าน              wสรุปองค์ความรู้ –  สรุปภูมิปัญญา  นำสู่การพัฒนาคน   การวางแผน  สร้างงานใหม่              wขยายผล -  เข้าสู่วงจรพัฒนาใหม่ในพื้นที่  เป็นคุณภาพใหม่      พัฒนากลไกสนับสนุน  เช่น  งานวิชาการ  พัฒนานโยบายส่วนกลางสิ่งที่คาดว่าจะได้รับ    31  ธันวาคม  2551: 1)มีพื้นที่นำร่องในและเครือช่ายเรียนรู้ทั้ง 5 ภาค  จำนวน  30  พื้นที่  มีคุณภาพ  w ชุมชนแก้ปัญหาตนเองได้    มีการพัฒนาต่อเนื่อง บนการพึ่งตนเอง                                 w มีความร่วมมือ ชุมชน- อปท.   w เป็นศูนย์เรียนรู้ฝึกอบรม และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ท้องถิ่น2) สถาบันฯ มีศักยภาพทางวิชาการ  ร่วมเครือข่ายขยายผล จัดการอบรมต่อเนื่อง  3) ก่อผลสะเทือนทางวิชาการ และ นโยบาย ต่อการส่งเสริมความเข้มแข็งและการพัฒนายั่งยืนของชุมชนและองค์กรปกครองท้องถิ่นวิทยากร:  จัดทีมวิทยากรผสมที่มีศักยภาพ เรียนรู้ไปด้วยกัน  ทำงานเป็นทีมการงบประมาณ :  ได้จากงบสนับสนุนสถาบันฯ ส่วนกลาง  และ ค่าลงทะเบียนอบรม ซึ่งดำเนินการโดยเครือข่ายเอกสารและสื่อการอบรม :  สื่อส่วนกลางสถาบันฯ จะรวบรวมและพัฒนาขึ้นเป็นการเฉพาะ   แต่ละเครื่อข่ายจะพัฒนาเอกสารและสื่อขึ้นเป็นของตนเองการเผยแพร่ : จัดทีมกลางประสานงานพัฒนาสื่อในเครือข่าย  ได้แก่  เวป www.thailocal.net   www.tambon.net   www.grssrootsthai.net  จดหมายข่าว อบต.องค์กรภาคี ณ ปัจจุบัน :  วิทยาลัยนวตกรรมสังคม ม.รังสิต (วิทยากร เชียงกูล)     ศูนย์ศึกษาการปกครองท้องถิ่น ม.เชียงใหม่ (ธเนศวร์  เจริญเมือง)                                           สถาบันวิจัยสังคม ม.จุฬา (สุริชัย  หวันแก้ว)     คณะประสานงานส่วนกลาง:           ธีรศักดิ์  พานิชวิทย์      สมพงษ์  พัดปุย       ชาญ  รูปสม     สถิต  ฉัตรแก้วชูไทย       ชัยภัทร  หมั่นกิจ หลักสูตรพื้นฐาน: การเรียนรู้องค์รวม เลือกอบรมทีละส่วนได้ ต้องประสานกิจกรรมปฎิบัติหลักสูตรเฉพาะเรื่อง : สนองความต้องการเฉพาะกลุ่ม ต้องทำกิจกรรมปฎิบัติ พัฒนาความรูต่อเนื่องอยู่ในกรอบหลักสูตรพื้นฐาน 
เรื่อง สัมมนานำสู่การเรียนรู้ เนื้อหา-หลักวิชาการ(อบรม) เรียนรู้จากรูปธรรม(ประชุมปฎิบัติการ) นำสู่การปฎิบัติ(มอบหมายงาน)
1) การเรียนรู้รู้จักสรรพสิ่งรอบตัวเราเครื่องมือการเรียนรู้

อะไรทำให้สรรพสิ่งเปลี่ยนแปลงไม่เหมือนกัน จริงหรือ “ขงเบ้งหยั่งรู้ดินฟ้า” “ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยตนเอง”

แรงบันดาลใจ – การปฎิบัติ -การเรียนรู้ – ตกผลึก-ความชินชา

สิ่งใหม่เกิดจากความขัดแย้ง

ข้อมูล     การสำรวจ    เวทีชุมชน  การเสนอรายงาน

 
การเปลี่ยนแปลง  จากความเชื่อ/ข่าวลือ/ความเคยชิน  สู่  ความเป็นจริง/เหตุผล/การสร้างสรรค์

เรา ได้เรียนรู้อะไรบ้าง

ชุมชน ได้เรียนรู้อะไรบ้าง

2) รู้จักโลก รู้จักประเทศวิถีโลกาภิวัฒน์พัฒนาการประเทศไทยใต้ โลกาภิวัฒน์ระบบบริหารบ้านเมือง

วิกฤตของโลก

ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์ต่อประเทศไทยและท้องถิ่น

โลกแห่งการค้า แย่งชิง ครอบงำ

ประเทศไทยเป็นบริวารโลก

ความสัมพันธ์ระหว่าง ชุมชน/ท้องถิ่น  กับ ส่วนกลาง/โลกาภิวัตน์

 

โครงการขนาดใหญ่ ห้างแมคโคร-โลตัส  ใครได้-ใครเสีย

ผลกระทบจาก WTO  CL ยา

แหล่งท่องเที่ยวฝรั่ง

สำรวจจุดแข็งชุมชน

รื้อฟื้นวัฒนธรรรม  ปกป้องทรัพยากรสิ่งแวดล้อม 
3) รู้จักชุมชนท้องถิ่นความสำคัญของท้องถิ่นในยุคโลกาภิวัตน์    รากฐานท้องถิ่น คือ สังคมวัฒนธรรม ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมการเปลี่ยนแปลงของชุมชนท้องถิ่น ชุมชนเกิดก่อนประเทศ  กฎสังคมมาก่อนกฎหมาย  ใครยิ่งใหญ่กว่ากัน

วิเคราะห์ (SWOT) ชุมชน ท้องถิ่น

โครงสร้างอำนาจในชุมชน

การฟื้นฟูปกป้อง “ต้นทุนทางสังคมท้องถิ่น” 

ความขัดแย้งโครงสร้าง 3 เส้า (รัฐ – อทป.-ชุมชน)

ความขัดแย้งและความสัมพันธ์ระหว่าง  วิถีชุมชน/ผู้นำธรรมชาติ  กับ อบต.กำนันผู้ใหญ่บ้าน 

ชาวบ้านรู้จัก อปท.

ความร่วมมือของชุมชน - อปท.

แก้ความขัดแย้ง ด้วย การมีส่วนร่วม  ประชาคม  แผนชุมชน
เรื่อง สัมมนานำสู่การเรียนรู้ เนื้อหา-หลักวิชาการ(อบรม) เรียนรู้จากรูปธรรม(ประชุมปฎิบัติการ) นำสู่การปฎิบัติ(มอบหมายงาน)
4) การสร้างชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็งการพัฒนายั่งยืนการกระจายอำนาจฯการมีส่วนร่วมการพึ่งตนเองเศรษฐกิจพอเพียง 

ท่านเห็นอย่างไร

“ชุมชนตกเป็นเหยื่อ”

“ท้องถิ่นจะกลายเป็นสำนักงานของระบบราชการกลาง”

ยุทธศาสตร์เพื่ออนาคต

   “อบต.เป็นเครื่องมือประชาชน”

   “อปท.คือจุดคานงัดสังคมการส่งเสริมชุมชนท้องถิ่น โดย รธน.50

การกระจายอำนาจ   การตรวจสอบความร่วมมือชุมชน-ท้องถิ่น

ความสัมพันธ์: สภาองค์กรชุมชน  อบต.  กำนันผู้ใหญบ้าน

ความเป็นอิสระและอำนาจของชุมชน ท้องถิ่น จากส่วนกลาง

การพึ่งตนเองของชุมชนท้องถิ่น

มาตรการท้องถิ่น:

   ปกป้องทรัพยากร สิ่งแวดล้อม

    ภิพิธภัณธ์ทั้งหมู่บ้าน

    วัฒนธรรมชุมชน/ กฎหมู่บ้าน 

    ระบบสวัสดิการชุมชน

    การพึ่งตนเองของชุมชน

    เศรษฐกิจชุมชน  
5)การพัฒนาผู้นำชุมชนท้องถิ่นรู้ทันการเมืองการบริหารส่วนกลางวิถีผู้นำชุมชนท้องถิ่นการเมืองภาคประชาชนสร้างสังคม เป็นเบ้าหลอมผู้นำ

“เงินซื้อการเมืองได้ทุกระดับ”ปัญหาอยู่ที่ไหน : ตัวผู้นำ  ชาวบ้าน  หรือ ระบบ

นายกดี อยู่ได้ไม่นาน

 ภาวะการนำ-คุณธรรม-ความสามารถ

การยกระดับทางการเมืองในท้องถิ่น

ความสัมพันธ์ “นายก อบต – กำนัน/ผญบ.- ผู้นำประชาชน”

ประสบการณ์ผู้นำดีเด่น

ประชาชนกำกับผู้นำการคัดกรองผู้นำเข้าเลือกตั้งท้องถิ่น

นำร่อง

กระบวนการท้องถิ่นเพื่อความสมานฉันท์ :

ประชาคม  สภาองค์กรชุมชน

 สภาซูรอ 

การสร้าง และ รักษาผู้นำ

   
เรื่อง สัมมนานำสู่การเรียนรู้ เนื้อหา-หลักวิชาการ(อบรม) เรียนรู้จากรูปธรรม(ประชุมปฎิบัติการ) นำสู่การปฎิบัติ(มอบหมายงาน)
6)หัวใจการบริหารจัดการท้องถิ่น“อปท.เป็นของประชาชน”การนำเสนอนโยบายสาธารณะการวางแผนกลยุทธ์การอำนวยการองค์กร

ต้องการท้องถิ่นแบบไหน :การบริหาร ๓ แบบ  (ทำตามสั่ง ประยุกต์  ทำนอกกรอบ)

 จัดการชุมชนแบบมืออาชีพ 

การพัฒนายั่งยืน  การพึ่งตนเอง

หลักการจัดการท้องถิ่น

การกระจายอำนาจ   กฎหมายท้องถิ่น  การคลัง  บุคลากร 

การตรวจสอบ

กรณีศึกษา:

 ศาสตร์และศิลป์การบริหารท้องถิ่น

“การบริหารนอกกรอบ”

หมายเลขบันทึก: 166257เขียนเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2008 23:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 พฤษภาคม 2012 10:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สวัสดีครับ

มาขออนุญาตนำบทความไปรวม ใน   รวมตะกอน  ครับ ขอบคุณมากครับ

เอาเลยครับ ...ช่วยๆกัน
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท