ข้อวินิจฉัยการพยาบาลโรคความดันโลหิตสูง


ไม่มีอะไรที่พยาบาลทำไม่ได้ ทำไม่ไหว ทำไม่ทัน

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล  Hypertension crisis

ว.ด.ป. /เวร ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล/วัตถุประสงค์/เกณฑ์การประเมินผล กิจกรรมทางการพยาบาล การประเมินผล
 

ڤ ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงเนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต

ڤ ............................................................

.................................................................

S:……………………………...

………………………………..

………………………………..

O: …………………………….

ڤ BP............... mmHg, ......................

ڤ ซีด ตัวเย็น เหงื่อออก pulse………..

ڤ ระดับความรู้สึกตัว.................................

ڤ pupil…………………………

ڤ การตอบสนองต่อความเจ็บปวด............

...................................................................

ڤ ตรวจ reflex

Babinski reflex……………

Hoffman reflex……………

ڤ ................................................................

.....................................................................

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ความดันโลหิตลดลง โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน

เกณฑ์การประเมิน

1. ความดันโลหิตค่า dyastolicไม่เกิน 110 mmHg

2. ระดับความรู้สึกตัวดี ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน แขนขาอ่อนแรง

3. ฟังเสียงหัวใจ ปอด ปกติ

4. urine มากกว่า 30 ซีซี/ชม.

5. ไม่มี BP ต่ำลงอย่างรวดเร็วจากการใช้ยาลดความดันโลหิต

6.................................................................

1. check v/s q 1-2 hr หรือตามเหมาะสม

2.สังเกตลักษณะและอัตราของชีพจร การหายใจและพฤติกรรมต่าง ๆของผู้ป่วย

3.บันทึก I/O ถถ้าน้อยกว่า 30 ซีซี/ชม. รายงานแพทย์ทันที

4.สังเกตและบันทึกอาการแสดงทางระบบประสาท ทุกชั่วโมง ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์

5.ให้ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา

6.ควบคุมอัตราการหยดของสารน้ำและยาที่ผสมตามแผนการรักษา

7.ระวังในการให้ยาลดความดันโลหิต ถ้ามากเกินไปอาจเกิดภาวะช็อค จากความดันโลหิตต่ำมากและความเตรียมยาเพิ่มความดันโลหิตไว้ เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที

                     
 

รพ.ท่าคันโท แผนกผู้ป่วยใน

ชื่อ-สกุล

อายุ                  ปี

HN

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล  Hypertension crisis

ว.ด.ป. /เวร ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล/วัตถุประสงค์/เกณฑ์การประเมินผล กิจกรรมทางการพยาบาล การประเมินผล
 

ڤ ปวดศีรษะรุนแรง เนื่องจากการเพิ่มความดันในหลอดเลือดสมอง

ڤ ............................................................

.................................................................

S:……………………………...

………………………………..

………………………………..

O: …………………………….

ڤ BP............... mmHg, ......................

ڤ...............................................................

...................................................................

 

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะลดลงหรือหายไป

 

เกณฑ์การประเมิน

1. ผู้ป่วยบอกว่าอาการปวดลดลง หรือไม่ปวด

2. ให้ความร่วมมือในการให้ยารักษา

3. ...............................................................

..................................................................

1.ให้พักผ่อนบนเตียงในช่วงที่ปวดรุนแรง (bed rest)

2.ให้การพยาบาลเพื่อลดการปวด

- ประคบเย็นที่ศีรษะ

- นวดที่ต้นคอและหลัง

3.จัดสิ่งแวดล้อมในห้องพักให้สงบเพื่อผ่อนคลาย

4.หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ปวดศีรษะมากขึ้น เช่น ไอ เบ่งอุจจาระ ก้ม งอตัว

5.ให้ยาตามแผนการรักษา....................

............................................................

6. ........................................................

.............................................................

                            
 

รพ.ท่าคันโท แผนกผู้ป่วยใน

ชื่อ-สกุล

อายุ                  ปี

HN

 

หมายเลขบันทึก: 147707เขียนเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2007 19:39 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 01:08 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ตั้งDx อะไรไม่เห็นจะรู้เรื่องไหนข้อมูลที่มาเป็นตัวโชว์

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท