คลื่นไฟฟ้าหัวใจ


EKG

คลื่นไฟฟ้าหัวใจ

1.Atrium  futter

   -  มี P-wave  เหมือนฟันเลื่อย 2 ตัวติดกัน

   -  QRS  แคบ

  - ระยะของ  P - R interval  เท่ากัน

2.Atrium fibulation

   - P-wave ขยุกขยิกไม่ชัด/ Atrium พลิ้ว

   - QRS  แคบ  ไม่สม่ำเสมอ

  - P - R interval  ไม่เท่ากัน

3.Juntional  Contraction  ( เกิดจาก Atrium  ไม่เต้น/เต้นน้อยมาก )

   - ไม่มี P-wave 

   - มี P-wave  หัวกลับ

   -  QRS  แคบ 

   - P - R interval  เท่ากัน

  ผลของ  Atrium ผิดปกติ

 - เลือดไหลลง  Ventricle น้อย = เป็นลม  เหงื่อออก  ตัวเย็น

 - เลือดค้างจากการที่  Atrium ไม่บีบตัว = Blood clot  ถ้าหลุดไป  Aorta  ต้องเข้า  OR ลาก clot  อันตรายมากหากไปสมอง

  Severe      stenosis    =  1      cms

  Moderate  stenosis   = 1-2    cms

 Mide          stenosis   =  2-3   cms

ปกติ                            =  4.5-5.5  cms

 การที่  Atrium  เต้น มี CO  =  10-30 %

การทำ  Cardio Version

- NPO  เปิดเส้นให้  IV

- เตรียม  Tube + กระดานรอง  CPR

-ต้องไม่มี  Clot  = กลัว Clot  ไปติดสมอง ต้อง Echo ให้แน่ใจว่ามี Clot 

 - กระตุ้นให้  Heart เต้นดีด้วย  50-100 J

* การผิดปกติของ  Ventricle *

1 . Idio  Venticular  contraction

   - Ventricle เต้นเอง

  -  ไม่มี P - wave

  - QRS  กว้าง 90 % ตัวเท่ากัน

  - Rate ช้า

  - ต้องจับ Pluse ก่อนอาจมี Pluse  อาจ  Turn เป็น No  Pluse = ต้อง  CPR / on pacing /No  Pluse =  ต้อง  CPR

 - จับ  Pluse  ได้คล้าย Pt ก่อนตาย / low  CO Hypovolemic  shock  ต้องให้  Volum ก่อน

- จับ Pluse  ไม่ได้  = PEA No  pulse  แต่มี  E.K.G. = CPR No Defrib

2.Ventricular  Trachycardia

 - No P-wave

-QRS  กว้าง

-Rate  เร็ว > 120/min

-No  PVC

- จับ Pulse  ได้ต้อง Cardio   Version

- จับ Pluse ไม่ได้ = Defib  =  Synconise = 50-100 J

3. Venticular  Fibilation

-No  P- wave

- QRS  กว้าง

-ตัวไม่เท่ากัน  ใหญ่บ้าง , เล็กบ้าง

- จับ Pluse ไม่ได้

-ต้อง  Defib  ทันที

.... Fine  V.F ตัวละเอียด

....Very  Fine  V.F ตัวละเอียดมากๆ

....Cose  V.F ตัวโตไม่เท่ากัน/ค่อยๆโต  และค่อยๆเล็กสลับกันตลอด

คำสำคัญ (Tags): #วิชาการ
หมายเลขบันทึก: 8904เขียนเมื่อ 6 ธันวาคม 2005 05:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 04:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)
แอ่งหัวใจอะไรบ้างที่มีผลต่อคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
อยากให้มีรูปของคลื่นไฟฟ้าหัวใจแต่ละชนิดมาให้ดูด้วย
ยศพล อาจารย์พยาบาลวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี

การที่จะจำ EKG แต่ละตัวได้  สิ่งสำคัญ จะต้องเข้าใจกลไกการเกิดไฟฟ้าปกติ   และการเกิดไฟฟ้าที่ผิดปกติ  แล้วจะเข้าใจรูปได้ง่ายมากเอง   เช่น  junctional   ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า  SA node เป็น Primary pacemaker  สามารถปล่อยไฟฟ้าออกมากระตุ้นการเต้นหัวใจได้ 80-100 ครั้งต่อนาที  โดยการเต้นจะเริ่มจากหัวใจห้องบนเต้นก่อนและตามด้วยห้วใจห้องล่าง  เมื่อหัวใจห้องบGนเต้น ก็จะเกิด Positive  P wave (P wave หัวตั้ง)    วันใดหรือเวลาใดก็ตามที่ SA node ทำหน้าที่ไม่ได้ดีเท่าเดิม  หมายถึงปล่อยไฟฟ้าได้ลดลง  AV node ซึ่งเป็น secondary pacemake  จะทำหน้าที่กระตุ้นหัวใจให้เต้นเอง   แต่การกระตุ้นนี้   เป็นได้ทั้ง 1)การเต้นที่ไม่ได้ย้อนกลับไปที่ หัวใจห้องบน(เพราะ AV node อยู่กลางระหว่างหัวใจห้องบนและล่าง) จะทำให้ไม่พบ P wave    2) การเต้นที่สามารถส่งไฟฟ้าย้อนไปกระตุ้นหัวใจห้องบนได้  ดังนั้น P wave   จะหัวกลับ  ได้ครับ 

เป็นพยาบาลจบใหม่ค่ะเคยฝึกงานที่ ICU แต่ไม่เข้าใจเรื่องการแปลผล EKG อยากให้พี่ช่วยแนะนำหน่อยค่ะ

ส่งข้อมูลการอ่าน EKG มาให้เพื่อนหน่อยจ้า มาอยู่บ้านนอกนานไม่ค่อยได้ใช้

พอดีผมมีอาการเจ็บและหายใจไม่เต็มปอด

เลยไปหาหมอและตรวจคลื่นหัวใจมาครับ

ผลคือ Q ผิดปกติ อยากทราบว่าอันตรายมากขนาดไหน เพราะตอนนี้ก็ยังเจ็บอยู่เจ็บมาก

และมีวิธีการปฐมพยาบาลตัวเองอย่างไรหากเกิดอะไรขึ้น

ผมอายุ 37 ปี ชาย นน. 98 สูง 170

ขอบคุณคับ

วันที่ 5 มีนาคม 2552 ผมมีอาการเส้นเลือดหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน เกิดอาการโคม่า ภรรยาได้เรียกรถฉุกเฉินของโรงพยาบาลที่ทำปเมื่อระกันสังคมอยูให้มารับตัวผมที่บ้าน เมื่อพาผมไปถึงร.พ. ทาง ร.พ.ก็ไม่สามารถรักษาผมได้เพราะไม่มีศูนย์หัวใจ ทางร.พ.บอกจะส่งผมต่อไปร.พ.ที่ทางโรงพยายาบาล มีสัญญากันอยู่ แต่เนื่องจากผมมีอาการโคม่า ภรรยาจึงตัดสินใจขอให้ทางโรงพยาบาลที่ทำประกันสังคมอยู่ ส่งไปทีโรงพยาบาลที่มีศูนย์หัวใจ แต่โรงพยาบาลนี้ไม่มีประกันสังคม ผมต้องทำบอลลูนเส้นเลือดหัวใจ 1เส้น ต่อมีอาการหัวใจวายอีก 5 ครั้งหลังทำบอลลูนเส้นเลือดหัวใจ ทำให้แพทย์ที่ทำการรักษาประเมินการรักษาว่าต้องใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ แบบพิเศษ ชนิด3สาย ที่เรียกว่า cardiac resynchronization therapy defibrillator ( CRT-D )ซึ่งมีราคาเกือบ แปดแสนบาทต่อเครื่องอยากทราบรายละเอียดว่า CRT-Dทำงานต่างจากAICD อย่างไรครับ หมอบอกผมต้องใช้รุ่น3สายเพราะการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง2ห้องไม่เท่ากัน ผมมีโอกาสหายจากอาการดังกล่าวในอนาคตหรือไม่ครับ ตอนนี้หัวใจห้องบนเต้นประมาณ100ครั้งต่อนาทีหัวใจห้องล่างเห็นบริษัทที่ขายเครื่องบอกว่าเพลสวันละประมาณ 3,000ครั้งสามารถแกไขได้หรือไม่อย่างไรครับ

ดีใจมากๆค่ะที่ได้เจอรุ่นพี่ วิทลัยฯเดียวกัน ...

*** น่าจะมีข้อมูลเกี่ยวกับรูปภาพนะค่ะ *** จะช่วยให้เข้าใจมากขึ้น

ขอบคุณมากนะค่ะ..รุ่นพี่

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท