SAR ON BLOG : 9.1 การประกันคุณภาพภายใน


องค์ประกอบที่ 9 การประกันคุณภาพและการพัฒนาองค์กร 

ปฏิบัติการที่ดี


     สำนักงานเลขานุการ พึงพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถาบัน


 

9.1 การประกันคุณภาพภายใน

9.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน

9.3 การจัดการความรู้ในองค์กร 

   

ดัชนีที่ 9.1 การประกันคุณภาพภายใน

ปฏิบัติการที่ดี


     สถาบันอุดมศึกษา พัฒนาระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในซึ่งประกอบด้วย ระบบการควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ


เกณฑ์การตัดสิน หลักฐานอ้างอิง
1. มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ

9.1.1 (1) คำสั่งคณะสหเวชศาสตร์ที่ 89/2549
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพของสำนักงานเลขานุการ

9.1.1 (2) คำสั่งคณะสหเวชศาสตร์ที่ 90/2549
เรื่อง  แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพของสำนักงานเลขานุการ (เพิ่มเติม)
 

   
 2. มี (1) + มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 9.1.2 (1) กิจกรรมวิพากษ์แผนยุทธศาสตร์

9.1.2 (2) กิจกรรม QA Talk

9.1.2 (3) กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 4/50

9.1.2 (4) กิจกรรมสัมมนาประเมินผล QA ของคณะ

9.1.2 (5) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเตรียมพร้อมรับการตรวจประเมิน
   
3. มี (2) + มีการประเมินคุณภาพภายในของทุกหน่วยงานย่อย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 9.1.3 รายงานการประเมินตนเอง / ตรวจสอบประจำปีการศึกษา 2549
 
   
4. มี (3) + มีการเผยแพร่ผลการประเมินต่อผู้เกี่ยวข้อง 9.1.4 (1) บอร์ดประชาสัมพันธ์
9.1.4 (2) แจกรายงานการประเมินตนเอง / ตรวจสอบ ประจำปี 2548 เป็นรูปเล่ม 
   
5. มี (4) + มีการนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงาน 9.1.5 สรุปการนำผลการประเมินมาพัฒนางานประกันคุณภาพ 
   


การประเมินตนเอง (SAR)

ผู้กำกับดูแล :  P   นายอนุวัทย์  เรืองจันทร์    โทร. 6225
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล :  นายชรินทร์  ร่วมชาติ  โทร. 6248
ปีที่แล้ว : 5 ในครั้งนี้ :  5 ปีต่อไป : 5
ผลการดำเนินงาน :
 สำนักงานเลขานุการ มีคณะกรรมการประกันคุณภาพ เป็นกลไกหลักในการบริหารงานด้านการประกันคุณภาพ โดยมีคณบดี และรองคณบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพเป็นที่ปรึกษา  มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสร้างความเข้าใจในเรื่องการประกันคุณภาพ และมีการทำ AAR หลังทำกิจกรรม/โครงการเสร็จ เพื่อนำผลมาปรับปรุงการดำเนินงานครั้งต่อไป
TOWS Analysis :
ภาวะคุกคาม T :  - การพัฒนาหน่วยงานในด้านคุณภาพ มีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น กพร. สมศ. สตง. ที่มาประเมินผลการดำเนินงาน ทำให้บุคลากรมีภาระในการปฏิบัติงานประจำเพิ่มขึ่น
โอกาส O :  - หน่วยประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยสนับสนุนให้บุคลากรสายสนับสนุน ได้มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานประกันคุณภาพของสำนักงานเ
- คณะฯ ส่งเสริมให้บุคลากรได้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสร้างความเข้าใจในเรื่องการประกันคุณภาพ
จุดอ่อน W : - การประกันคุณภาพของสำนักงาน ยังไม่มีผู้รับผิดชอบประจำ ทำให้ขาดความต่อเนื่องในการพัฒนางานประกีนคุณภาพ  
จุดแข็ง S : - บุคลากรของสำนักงานมีการเก็บรวบรวมข้อมูลในด้านการประกันคุณภาพไว้บน Blog ทำให้สามารถติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพได้อย่างต่อเนื่อง
โครงการหรือกิจกรรมในปีต่อไป :
 - ทบทวนการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพ โดยการทำ AAR และนำสิ่งที่ควรปรับปรุงมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการบริหารงาน

  

การประเมินตรวจสอบ (CAR)
 ผลการประเมินตรวจสอบปีที่แล้ว : 5

                                                                   

 

กรรมการประเมินตรวจสอบ ประจำปีการศึกษา 2549

 

กรรมการที่ประเมินตรวจสอบในองค์ประกอบที่ 9 ดัชนีที่ 9.1 การประกันคุณภาพภายใน


- อาจารย์ศุภวิทู  สุขเพ็ง
รองคณบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพ   คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 

                                                                    <NEXT>  /<สารบัญ>
คำสำคัญ (Tags): #sar-on-blog
หมายเลขบันทึก: 77391เขียนเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2007 12:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 เมษายน 2012 14:36 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
อ.ศุภวิทู สุขเพ็ง คณะกรรมการตรวจประเมิน
ผลการประเมินปีนี้ : 5ข้อเสนอแนะ        1. ควรมีระบบติดตามการนำผลประเมินคุณภาพมาพัฒนางานอย่างชัดเจน
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท