อายตนะ


           

           สำหรับผู้ที่ถงธรรมกายแล้ว ก็ให้รวมใจหยุดลงไปที่ศุนย์กลางกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุด แล้วก็ให้ใจของพระธรรมกายเพ่งพิจารณาลงไปที่กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ (ดวงธัมมานุปัสสนาสติิปัฎฐาน) ตรกลางกำเนิดธาตุธรรมเดิมนั้นแหละ ก็จะเห็นธาตุธรรมส่วนละเอียดของขันธ์ ๕ มีฃลักษณะเป็นดวงกลมใส ดวงเล็กๆ ขนาดประมาณเท่าเมล็ดโพธิ์เมล็ดไทร ซ้อนกันอยู่ป็นชั้นๆ เข้าไปข้างใน และก็ขันธ์ ๕ ส่วนละเอียดนี้เองที่ขยายส่วนหยาบออกมาเป็น "ดวงกาย" และดวงเห็น ดวงจำ ดวงคิด และดวงรู้ ซึงเจริญเติบโตออกมาเป็น กาย ใจ จิต และวิญญาณ

         ภายในขันธ์ ๕ ส่วละเอียดที่สุด คือ ตรงกลางวิญญาณขันธ ก็ยังมีธาตุธรรมส่วนละเอียด ของอายจตนะ ๑๒ ได้แก่ อายตนะภายใน ๖ และ อายตนะภายนอก ๖ มีลักษณะสัณฐานเป็น ดวงกลมใสบริสุทธิ์ ซ้อนกันอยู่เป็นขั้นๆ เข้าไปข้างในอีก แล้วก็มีธาตุ ๑๘ ได้แก่ ธาตุรับ ๖ ธาตุกระทบ ๖ และธาตุรับรู้อีก ๖ ซึ่งมีลักษณะขาวใสบริสุทธิ์ย่ิงขึ้นไปอีก ซ้อนกันเป็นขชั้นๆ เข้าไปข้างใน ดังพระเดชพระคุณ กลวงพ่อวัดปากน้ำ ได้แกสดงไว้ ่ว่า

       กายทุกกายมีอายตนะภายใน ๖ คือ ตา หุ จมูก ลิ้น กาย ใจ เหมือนกันเช่นนั้ ทุกกาย

       ตา เรียกว่า จักขวายตนะ มัลักษณะสัณฐานกลมใสสะอาดบริสุทธิ์ประมาณเท่าเมล็ดโพธิ์เมล็ดไทรหรือหัวเหา ตั้งอยู่กลางแววตาซ้ายขวาเรียกวา จักขุประสาท มี จักขุธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กล่า เล็กกว่าซ้อนอยู่ข้างใน สำหรับเห็นรูป มีจักขุวิญญาณธาตคุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่า เล็กกว่าจักขุธาตุ ซ้อนอยู่ขั้นในเข้าไปอีก สำหรับให้รู้แจ้งว่ารูปอะไร มีสายทอดออกไป ๒ สาย/ซ้ายขวา ผ่านขึ้นบนสมองศีรษะ แล้วหยั่งลงไปภายในเยื่อพงผืดข้างหลัง ไปรวมจดอยู่ที่ขันธ์ ๕ ที่กำเนิดธาตุธรรมเดิม

      หู เรียกว่า โสตายตนะ มีลักษณะสัณฐานกลมใสสะอาดบริสุทธิ์ ประมาณเท่าขนจามรี ขดเป็นวงซ้อนกันอยู่ ๗ ชั้น ตั้งอยุ่กลางแ้วหู ซ้ายขวา เรียกว่า โสตประสาท มีโสตธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์ ก่า เล็กว่า ซ้อนอยู่ข้างใน สำหรับฟังเสียง มีโสตวิญญาณธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่าเล็กกว่าโสตธาตุ ซ้อนอยู่ขชั้นในเข้าไปอีก

        สำหรับให้รู้แจ้งว่า เสียงอะไร มีสาย ๒ สาย ซ้ายขวา ทอดออกไปผ่านขึ้นบนสมองศีรษะ แล้วหยั่งลงไปภายในเยื่องพังผืดข้างหลัง ไปรมจดอยู่ที่อยู่ของขันธ์ ๕ ทำกำเนิดธาตุธรรมเดิม

        จมูก เรียกว่า ฆานายตนะ มีลักษณะสัณฐานเหมือนกับกวางหรือปีกริ้น ใสสะอาดบริสุทธฺ์ ตั้งอยุ่ที่ขื่อจมูกข้างในซ้ายขวา เรียกว่า ฆานประสาท มีฆานธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่า เล็กกว่า ซ้อนอยู่ข้างในสำหรับดมกลิ่น มีหานวิญญาณธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่า เล็กว่าฆานะาตุ ซ้อนอยุ่ชั้นใเข้าไปอีก สำหรับให้รู้แจต้งว่ากล่ินอะไร มีสายทอดออก ๒ สาย ซ้ายขวาผ่านขึ้นไปบนสมองศีรษะ แล้วหยั่งลงภายในเยื่อพังผืดข้างหลัง แล้วไปรวมจดอยู่ที่ขันธ์ ๕ ที่กำเนิดธาตุะรราเดิม

      ลิ้น เรียกว่า ชิวหายตนะ มีลักษณะสัณฐานเหมือนดอกบัวหรือกลีบบัว ใส สะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยุ่ทั่วล้ิน เรียกว่า ชิวหาประสาท มีชิวหาธาตุ ใสสะอาดกว่า เล็กกว่ ซ้อนอยู่ชั้นในสำหรับลิ้มรส มีชิวหาวิญญาณธาตุ ใสสะอาดบริสุทะิ์กว่า เล็กว่าชิวหาธาตุ ซ้อนอยู่ขั้นในเข้าไปอีก สำหรับรู้แจ้งวารสอะไร มีสายทอดออกไปผ่านขึ้นบนสมองศีรษะแล้วหยั่งลงไปภายในเยื่องพังผืดข้างหลังแล้วไปจดอยู่ที่ขันธ์ ๕ ทีกำเนิดธาตุธรรมเดิม

       กาย เรียกว่า กายายตนะ มีลักษณะสัณฐานเหมือนดอกบังใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่ทั่วทุกขุมขน เนรียกว่า กายประสาท มีกายธาตุ ใสสะอดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่ทั่วทุกขุมขน เรียกว่ ากายประสาท มีกายธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่า ลเ็กกว่า ซ้อนอยู่ชั้นใน สำหรับรับเครื่องสัมผัสที่มาถูกต้องกาย มีกายวิญญาณธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่า เล็กกว่า กายธาตุ ซ้อนอยู่ชั้นในเข้าไปอีก สำหรับรู้แจ้งเครื่องสมผัสที่มาถูกต้องกายนั้นว่ามีอะไรมีสายกรีะจายอยู่ทั่วกาย แต่ไปรวมจดอยู่ที่ขันะ์ ๕ ที่กำเนิดธาตุธรรมเดิม

       ใจ เรียกว่ มนายตนะ มัีลักษณะน้อมไปสู่อารมร์ เรียกว่าปกติมโน (อรรถกถาจารย์แก้ว่า ภวังคจิต) มีีลักษณะสัณฐานกลม ใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่กลางเนื้อหัวใจ เรียกว่า มโนทวาร มี มโนธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่า เล็กว่า ซ้อนอยู่ข้างใน สำหรับให้รู้ธรรมารมร์ที่มากระทบใจ มีมโนวิญญาณธาตุ ใสสะอาดบริสุทธิ์กว่า เล็กกว่ามโนธาตุ ซ้อนอยู่ข้างในเข้าไปอีก สำหรับให้รู้แจ้งอารมร์ที่มากระทบใจาอะไร มีสายหยั่งลงไปจดรวมอยู่ที่ขันธ์ ๕ มีกำเนิดธาตุธรรมเดิม สายของมนายตนะนี้ไม่ผ่านขึ้นสู่สมองศีรษะเหมือน ๕ สายนั้น

       อายตนะภายนอก ๖ 

       อายตนะภายใน ๗ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายใจ มีสีขาว ลักษณะกลม ใส สะอาด บริสุทธิ์ ซ้อนอยู่ในขันธ์ ดังนี้

       ขั้น ๑ รูป, ในเข้าไปชั้น ๒ เวทนา, ในเข้าไปขั้น ๓ สัญญา, ในเข้าไปชั้น ๔ สังขาร, ในเข้าไปอีกขชั้น ๕ วิญญาณ, ในเข้าไปอีกชั้น ๖ ตา, ในเข้าไปอีกชั้น ๗ หู, ในเข้าไปอีกชั้น ๘ จมูก, ในเข้าไปอีกชั้น ๙ ลิ้น, ในเข้าไปอีกชั้น ๑๐ กาย, ในเข้าไปอีกชั้น ๑๑ ใจ ที่กล่าวนี้ในกำเนิดธาตุธรรมเดิม

       อะไรทำให้เห็น.. สายใยชนิดหนึ่งสีขาวใสบริสุทธิ์ จดอยู่ในกลางขันธ์ ๕ แล้วยาวขึ้นไปจดอยู่กฃลางแวงตจซ้ายขวา ที่เรียกว่า จักขุประสาท ขณะเมื่ออายตนะภายในภายนอกกระทบกัน มีเมล็ดสีขาวใสสะอาดบริสุทธิ์ชนิดหนึ่ง วิ่งขึ้นมาตามภายในสายนั้น มาจดกลางจักขุปรสาทเปิดประตูรับเอารูปนั้น แล้วนำเข้าไปในกลางขึนธ์ ๕ ในกำเนิดธาตุธรรมเดิม ต่อจากนั้นก็เป็นหน้าที่ของขันธ์ ๕ จะกระทำแก่รูปที่นำเข้ามานั้นต่อไป

       อายตนะอื่นนอกนั้น คือ หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก้มีสายจดอยู่กลางขันธ์ ๕ แล้วยาวขึ้นมาจดตามทวารของอายตนะนั้นๆ เหมือนกัน

       เหตุใดอายตุนะภายใน ๖ จึงเป็น อนิจฺจํ ทุกข์ อนตฺตา..เพราะกายที่ ๕ คือ กายธรรม เป็น นิจฺจํ สุขํ อตฺตาจึงบอกกาย๔ ข้างต้น คือ กายมนุษย์ กายทิพย์ กายปฐมวิญญาณหยาบ กายปฐมวิญญาณละเอียด ซึ่งยังตกอยู่ในกองกิเลสว่าเป็น อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา

       ตา เป็นอายตนะคือเป็นบ่อเกิดของรุป เพราะรูปจะต้องมารวมที่ตา รูปเป็นบ่อเกิดของต เพราะตาจะต้องไปรวมที่รุ คื อจักขวายตนะ กับรูปายตนะ วิ่งชนกับ เหมือนแพะสองตัววิ่งชนกั แล้วดึงดุดรูปเข้าไปภายในายของตา นำเข้าไปในกลางขัันธ์ ๕ ในกำเนิดธาตุธรรมเดิม แล้วขันธ์ ๕ ก็กระทำหน้าที่กับรูปนั้นต่อไป

       ส่วนอายตนะอื่นๆ คือ หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็มีนัยเข่นเดียวกันแล้วพิจารณา ด้วยพระไตรลักษณเหมือนกัน...

       "หลักและวิธีเจริญสมถะและวิปัสสนากัมมัฎฐานเบื้องต้นถึงธรรมกาย" 

      

    

คำสำคัญ (Tags): #อายตนะ
หมายเลขบันทึก: 648718เขียนเมื่อ 5 กรกฎาคม 2018 16:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 กรกฎาคม 2018 16:17 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท