โรคหลอดเลือดในสมอง Stroke แก้ไข และ ป้องกันได้ด้วย เต็ก


โรคหลอดเลือดในสมอง (Strke) จะแตก หรือ ตีบ พร้อมเกิดขึ้นได้ โอกาสการป้องกัน เพื่อไม่ต้องแก้ไข ไม่ต้องใช้ คำอวยพรให้หาย. ทำได้ด้วยการ   "เต็ก"   เพื่อคลายเนื้อเยื่อ ก่อน ตีบ หรือ แตก

Video_20180207223722885_by_videoshow.mp4

ผู้ป่วยเส้นเลือดตีบ สมองตายไป 2 เซ็นติเมตร เป็นมานาน 6 ปี มีอาการปวดศรีษะด้านซ้าย ซึกซ้ายไม่รู้สึก เดินเท้าจิก นิ้วมือ หยิกเกร็ง แขนงอ ตลอดเวลา เคลื่อนไหวไม่สะดวก ต้องใช้มือขวาช่วยยก      ภายหลังการบำบัด ด้วยการเต็ก จำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 4 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง ในระยะเวลา 2 เดือน มีความรู้สึกเจ็บ ทั้งเท้า แขน มือ      ขยับข้อเท้าได้ แต่ยังขยับนิ้วเท้าไม่ได้     แขนเหยียด งอ แกว่งอขนได้โดยไม่ต้องใช้แขนขวาเข้าช่วย แต่นิ้วมือยังไม่สามารถขยับได้     วิธีการ และขั้นตอนของการพัฒนาการของร่างกายดังนี้     1  เต็ก เพื่อทำให้ เนื้อเยื่อเกิดการยืดหยุ่น ทำให้การไหลเวียน เข้าสู่ แขน ขา มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้ป่วยเริ่ม รู้สึกอุ่น หรือ ร้อน จากการที่เลือดสามารถไหลเข้าไปยังเนื้อเยื่อ จนถึงปลายมือ ปลายเท้า ที่เคยเย็น อันเนื่องมาจาก  ประสิทธิภาพการไหลเวียนของเลือดด้อยลง แต่ผู้ป่วยไม่รู้สึก        อาการปวดศีรษะ หายไป  2  ผู้ป่วยเริ่มรู้สึก เจ็บ ลึก ๆ ในบางส่วน จากดารเต็ก แต่ยังไม่สามารถ ระบุตำแหน่งที่เจ็บได้ และรู้สึก อุ่น หรือร้อน จากการไหลเวียนของเลือดได้มากขึ้น จากการเต็ก 3  เริ่มรู้สึกเจ็บ และ อาการปวดซ่า ไปถึงปลายนิ้วมือ นิ้วเท้า อาการยึดเกร็งของกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อ ลดลง รูสึกเจ็บมากขึ้น    4  ผู้ป่วยเร่มมีความรู้สึก เจ็บ ที่ผิวหนังมากขึ้น และระบุตำแหน่งได้ ข้อต่อต่างเริ่มอ่อน และเคลื่อนไหว เหยียด งอ ได้มากขึ้น แต่ยังบังคับนิ้วไม่ได้




เส้นเบือดในสมองตีบ เป็นมานาน 6 ปี สัญญาณ ดี ๆ เริ่มมีมากขึ้น เส้นเลือด ที่หลังมือ หลังเท้า ข้้้างซ้ายเห็นชัดเจนขึ้น มากขึ้น และมีความรู้สึก อุ่นมือ อุ่นเท้า  และร้อน 

Video_20180209191253414_by_videoshow.mp4

การเต็ก ทำให้เลือดไหลเวียนเข้าสู่เซลล์ต่าง ๆ เอาอาหารไปส่งให้ พร้อมขนของเสียกลับมา ทำให้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เริ่มกลับมาทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงทำให้มีการเคลื่อนไหว แขน ขา ได้มากขึ้น. อาการเกร็ง สั่นกระตุก  ดีขึ้นมาก หายเกือบหมดแล้ว

Video_20180209210310417_by_videoshow.mp4

การจัดการกล้ามเนื้อมัดเล็ก จึงทำให้เห็น นิ้วมือเริ่มตอบสนอง ต่อการ เต็ก (กดและยืดเนื้อเยื่อ)  พร้อม ๆ กับการที่เลือดไหลเวียนเข้าไปยังเซลล์ ต่าง ๆ ได้มากขึ้น เส้นเลือดดำเห็นชัดมากขึ้น ผู้ป่วยรู้สึกร้อนถึงปลายนิ้วมือ

     แล้ว นิ้วมือคงจะกลับมาขยับได้ในไม่ช้า

หมายเลขบันทึก: 644635เขียนเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018 23:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018 23:50 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท