ตรรกกะพิจารณาจัดสรรงปมแบบไทยแลนด์โอนลี่


ตรรกะไม่ได้ ....ไม่ได้หวังประโยชน์ แต่การที่ไม่นำระบบการบริหารจัดการความเสี่ยง จัดลำดับความเร่งด่วน(ความสำคัญ-ความเดือดร้อน) มาใช้ ทำให้จัดลำดับความเร่งด่วนในการบริหาร งปม.ผิดพลาด

กบเอยทำไมจึงร้อง กบเอยทำไมจึงร้องจำเป็นต้องร้องก็เพราะว่าท้องมันปวด ...

.....ตรรกกะรูปแบบนี้ที่ทำให้เราหาสาเหตุที่แท้จริงในการแก้ปัญหา ...ไม่ตรงจุดประสงค์....ไม่ตรงเป้าประสงค์... เกาไม่ถูกที่คัน ...ไม่ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่... โดยเฉพาะในเรื่องการพิจารณาจัดสรร งปม. พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ไม่เป็นไปแบบยั่งยืน ...โปร่งใส..ตามตรรกะ logical เป้าประสงค์ Objective ....เมื่อเกิดการตรวจสอบขึ้นจะเกิด 3 พฤติกรรมหลักๆ แบ่งได้เป็น....


1. เวลาย้อนถามตรวจสอบตอบตรงกัน ..เพราะได้วิเคราะห์ Gap analysis,Risk Assessment และกำหนดระดับค่่าความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (ALOS) และยกระดับให้เกิดความท้าทาย(ยกระดับจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม)อย่างต่อเนื่อง 


2. แต่ถ้าหากมีผลประโยชน์แฝง... จะย้อนถามที่ไปที่มาอย่างไรก็แถไป ตอบไม่ตรงประเด็น...เพราะไม่มีเหตุให้เร่งทำ หลบเลี่ยงเลือกหาวิธีการจัดหาให้ได้มา ที่มีช่องว่าง ของระบบขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติ งปม.


3.ตรรกะไม่ได้ ....ไม่ได้หวังประโยชน์ แต่การที่ไม่นำระบบการบริหารจัดการความเสี่ยง จัดลำดับความเร่งด่วน(ความสำคัญ-ความเดือดร้อน) มาใช้ ทำให้จัดลำดับความเร่งด่วนในการบริหาร งปม.ผิดพลาด 


ข้อดีข้อเสีย ในแบบต่างๆ...


1.ได้ประโยชน์ตามลำดับความสำคัญเร่งด่วน 
2. ผลประโยชน์ของชาวบ้านไปกระจุกตัวกับคนโกง
3. ประเทศชาติเจริญช้ากว่าที่ควรจะเป็น ...จัดสรร งปม.ไม่เป็นไปตามลำดับควมจำเป็นเร่งด่วน ขาดการบูรณาการวางแผนแม่บทเชื่อมถึงกัน

คำสำคัญ (Tags): #จัดสรรงปม
หมายเลขบันทึก: 644055เขียนเมื่อ 20 มกราคม 2018 04:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มกราคม 2018 04:05 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท