การบริหารจิตตามแนวพระพุทธศาสนา


การบริหารจิตตามแนวพระพุทธศาสนา

  • พระพุทธศาสนากับความรัก
  • -กล่าวถึงเรื่องราวของความรัก

  • สาเหตุของความรัก
  • - ต้องการดำรงเผ่าพันธุ์

    - ความกลัวเหงา ไม่มีคนเลี้ยงดู

    - ตอบสนองราคะตัณหา

    - ยกระดับฐานะทางสังคม

    - รักกัน / ใช้หนี้

  • ความรักตามแนวจิตนิยม
  •  นิยามความรัก = ความรักเป็นความรู้สึกพิเศษที่บุคคลมีต่ออีกคนหนึ่ง

     ช่วงต้น (รักแบบ Romantic love)

     เวลาผ่านมา ( Logical sensible love)

     นานวันเข้า (Lifelong friendship)

  • ความรัก = ความผูกพันทางอารมณ์
  • แสดง 3 ด้าน

    1. ความรู้สึก

    2. ความคิด

    3. การกระทำ

  • องค์ประกอบของความรัก
  • 1. อุทิศตนต่อกัน : ยอมอดทน / ช่วยแก้ปัญหา

     พฤติกรรม 2 ประการ - รับผิดชอบ

    -ปกป้องความรักให้ปลอดภัย

    2. สนิทสนม : ใกล้ชิด / ห่วงใย

     ผูกพัน

     เวลาร่วมกัน

     เข้าใจรู้สึก

     รับรู้ความสุข

     รับรู้ความทุกข์

     ใกล้/ห่าง เหมาะสม

     สมดุลอำนาจ

     แก้ไขขัดแย้ง

    3. เห็นคุณค่า : ความดีต่อกัน

    4. อดทน

    5. อภัย

    6. อารมณ์รัก

  • ทำไมคนรักกัน ( ลักษณะของความประทับใจต่อกัน )
  • 1. ใกล้ชิด

    2. คล้ายคลึง

    3. รูปร่างหน้าตา

    4. อิทธิพลครอบครัวเดิม

    - แม่ = แฟนลูกชาย

    - พ่อ = แฟนลูกสาว

  • บันได 3 ขั้นของความรัก
  • 1. ความฝัน : หลงใหลในตัวเขา

    2. เผชิญความจริง : เห็นสิ่งที่ไม่อยากเห็น

    3. โลกของคน 2 คน : ความมั่นคง/เป็นคู่ครองตัวจริง

  • รูปแบบของความรัก : ออกแบบไม่ได้
  • ความรักคือตัวตนบวกตัวตน
  •  ความรัก = เรียนรู้กัน ยอมรับในตัวตนของเขา

     ความรักต้องใช้เวลา

    - หาตน + เสริมตน

    - หาคน + เข้าได้

    - รักก่อตัว

     ตัวตน = ภูมหลังของเรา

    - สติปัญญา

    - อารมณ์

    - ค่านิยม

    - ความกลัว

     ผิดหวังจากความรัก : ไม่รู้จักตัว/ไม่รู้จักคนรัก

     เพ้อฝัน

     แสวงหาความรัก

     มีความรัก = ยอมรับกัน

     อย่ากลัว ถ้าคุณยังไม่มีความรัก

     กระหายรัก เกิดเมื่อ

    - ย้ายที่ใหม่

    - ไปดูหนัง

    - เพื่อนแต่งงาน

  • ปีศาจรัก = ความรู้สึกหลอกให้กลัว 4 ประเภท
  • 1. คิดพึ่งพา

    2. ปาฏิเสธ

    3. เหตุยอมรับ

    4. ขยับเปลี่ยนแปลง

  • แก้ความกลัว
  • 1. เปิดใจ

    2. หาปีศาจ

    3. นัดเที่ยว

    4. ลงสนาม : อย่าเข้าข้างต้นเอง

  • คำแนะนำ
  • 1. เล่นตามกติกา : อย่าคบหลายคน

    2. รู้จักตนเอง

    3. อย่าด่วนสรุป

    4. หลีกเลี่ยงการเรียกร้อง

    5. อย่าคิดมาก

  • อาณาเขตรัก : พูดคุยอย่างกล้าแสดงออก
  • ความรักตามแนวพระพุทธศาสนา
  •  ความรักย่อมเกิดขึ้น 2 ประการคือ

    1. อยู่ร่วมกันในกาลก่อน

    - บุพเพสันนิวาส : อยู่ร่วมกันในอดีต

    - เนื้อคู่ : ผัวเมียอดีตชาติ

    - คู่ครอง = ผัวเมียชาตินี้

    - คู่กรรม = ทำบาป + ศรัตรูกันมาก่อน

    - คู่บารมี = เนื้อคู่ตามกันมา(โพธิสัตว์)

    2. เกื้อกูลกันในปัจจุบัน

  • เหตุแห่งทุกข์เมื่อมีรัก
  • 1) อารมณ์ยึดมั่นในรูปขันธ์(กรรมฐาน ๕)

    2) ยึดในเวทนา (สุข)

    3) ยึดสัญญา

    4) ยึดสังขาร

    5) ยึดวิญญาณ

  • วิธีจัดการกับความทุกข์ตามแนวพุทธ
  • 1) ฝึกจิต

    - สมถภาวนา

    - วิปัสสนาภาวนา

    2) พิจารณาโทษรัก

     พุทธองค์เปรียบเทียบกาม

     ชิ้นกระดูกไม่ติดเนื้อ

     หลุมเพลิง

     ถือคบไฟทวนลม

     ฝันเห็น

    3) อย่าเห็นกันดีกว่า

     พระอานนท์ถามพระพุทธองค์---ปฏิบัติต่อสตรี

     อย่าเห็น / ไม่ควรมอง

     จำเป็นมอง / ห้ามพูด

     ต้องพูด / ใช้สติ

    4) ม้างกาย

     กายคตาสติ / พิจารณา 32 ( ดึงลูกตา / ตัดขา /ตัดหำ วางผ้าขาว ดูในนิมิต)

    5) พิจารณาอสุภกรรมฐาน : ซากศพ

    6) ปลงใจและอธิษฐานจิต

  • พุทธศาสนากับความโกรธ
  •  เสียหาย 2 ทาง

    1) อารมณ์ร้ายจากสิ่งอื่นกระทบ

    2) เกิดจากใจเราเอง

     ความโกรธ = อาการของความเดือด ดาลแห่งจิต

  • ลักษณะของความโกรธ
  •  พุทธองค์ = มีรากเป็นพิษมียอดหวาน

  • ลำดับความโกรธ
  •  พระสารีบุตร กล่าว

    1) จิตขุ่นมัว

    2) หน้าเง้างอ

    3) ปากคางสั้น

    4) ผรุสกลั่น

    5) มองดู หาท่อนไม้

    6) จับศาสตรา

    7) เงื้อท่อนไม้

    8) ใส่คนอื่น

    9) ทำแผลเล็กเป็นแผลใหญ่

    10) กระดูกหัก

    11) อวัยวะหลุด

    12) ชีวิตคนอื่นดับ

    13) ฆ่าคนอื่น ฆ่าตนเอง

  • สาเหตุแห่งความอาฆาตหรือความโกรธมีอยู่ ๑๐ ประการ คือ
  • ๑. เขาเคยทำความเสียหายให้แก่เรา

    ๒. เขากำลังทำความเสียหายให้แก่เรา

    ๓. เขาจะทำความเสียหายให้แก่เรา

    ๔. เขาเคยทำความเสียหายให้แก่คนที่เรารัก

    ๕. เขากำลังทำความเสียหายให้แก่คนที่เรารัก

    ๖. เขาจะทำความเสียหายให้แก่คนที่เรารัก

    ๗. เขาเคยช่วยเหลือคนที่เราชัง

    ๘. เขากำลังช่วยเหลือคนที่เราชัง

    ๙. เขาจะช่วยเหลือคนที่เราชัง

    ๑๐. โกรธโดยไร้สาเหตุ (โกรธแม้สิ่งที่ไม่มีชีวิตจิตใจ)

  • โทษของความโกรธ
  • 1) จิตใจ

    2) มารยาท

    3) การงาน

  • วิธีจัดการกับความโกรธตามแนวพุทธ
  • 1) รู้โทษแล้วยับยั้ง

    2) นับเลข

    3) ทมะ/ขันติ

    4) เหมือนทองไม่รู้ร้อน

    5) เปลี่ยนเรื่องคิด

    6) มองขำขัน

    7) แผ่เมตตา/ให้อภัย

  • พุทธศาสนากับความเครียด
  • ความเครียด = ลักษณะอาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป ลักษณะอาการที่จิตใจมีอารมณ์บางอย่างมากดดันความรู้สึกอย่างรุนแรง.
  • สาเหตุของความเครียด
  •  จิตยึดมั่น ( ตัณหา 3 )

    1) กามตัณหา

    2) ภวตัณหา

    3) วิภวตัณหา

     วิตก – วิจารณ์

    1) กามวิตก

    2) พยาบาทวิตก

    3) วิหิงสาวิตก : แฝงเบีดเบียน

     สาเหตุใหญ่ๆ

    1) จิตใจ

    2) ร่างกาย

    3) สังคม

    4) เปลี่ยนแปลง

    5) สิ่งแวดล้อม

  • อาการหรือพฤติกรรมที่แสดงเมื่อเกิดความเครียด
  • 1) ทางร่างกาย

    2) ทางจิตใจ

  • วางแผนจัดการกับความเครียด
  •  อริยสัจ 4

  • การกำจัดความเครียดโดยวิธีการเจริญสติตามหลักปธาน 4
  • 1) หลักสังวรปธาน

    - ยับยั้งอารมณ์

    - วางเฉยทำให้เกิดปิติ

    2) หลักปหานปธาน

    - แยกกาย แยกจิต

    - เฝ้าดูอาการของจิต

    3) หลักภาวนาปธาน

    - ตั้งสติกำหนดเอาใจเป็นอารมณ์

    - กำหนดคำบริกรรม

    - กำหนดความรู้สึกเป็นสติ

    4) หลักอนุรักขนาปธาน

    - ทำใจให้สบาย

    - ปรับใจผ่องใส

    - รู้อารมณ์

    หมายเลขบันทึก: 625070เขียนเมื่อ 3 มีนาคม 2017 18:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 มีนาคม 2017 14:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


    ความเห็น (0)

    ไม่มีความเห็น

    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท