ดร.ปรเมศวร์ กุมารบุญ
นักอาชญาวิทยา นักกฎหมายเทคโนโลยี และวุฒิวิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร
การศึกษา
- ปริญญาเอก อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เป็นผู้สำเร็จปริญญาเอกด้วยคะแนนสูงสุดประจำปีการศึกษา ดุษฎีนิพนธ์คะแนนเต็มเอกฉันท์ ระดับดีมาก ด้านอาชญากรรมไซเบอร์และทฤษฎีเกม
- ปริญญาโท บริหารเทคโนโลยี (โทรคมนาคม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ปริญญาโท วิศวกรรมและเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
โครงการความร่วมมือระหว่าง โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า กับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (กำลังศึกษา)
- ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโทรคมนาคม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
-สมาชิกวิสามัญเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
- ผู้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพชั้นสูงสุดระดับ วุฒิวิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร (คนที่ 88 ของประเทศไทย) จากสภาวิศวกร
ประกาศนียบัตร
- Religion, Conflict and Peace, มหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด
- Financial Market, มหาวิทยาลัย เยลล์ (ได้รับทุนจาก coursera ผลการเรียน With Honors)
- Intellectual Property, มหาวิทยาลัย เพนซิลวาเนีย
- Welcome to Game Theory, มหาวิทยาลัยแห่งโตเกียว
- Bitcoin and Crypto currencies, มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย, เบิร์กเลย์
- Cybersecurity for Critical Urban Infrastructure, สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์ (M.I.T.)
- Policy and Regulation in ICT Development for Mobile and Broadband Diffusion, มหาวิทยาลัยวาเซดะ
- Policy and Regulation Converging Telecommunications Environment, สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
- Telecommunication Policy and Regulation for Competition, สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
- Communications for Effective Public Participation Awarded, สมาคมการมีส่วนร่วมสากล
ประสบการณ์ทำงาน
- กรรมการวิศวกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
- ที่ปรึกษาประธานสภากรุงเทพมหานคร
- ที่ปรึกษามูลนิธิประชาปลอดภัย
- Expert ศูนย์ศึกษา Cyber crime คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(https://www.chulacriminology.com/center-for-cyber-crimes-study.html)
- อาจารย์พิเศษ และวิทยากร การเงินดิจิทัล กฎหมายเทคโนโลยี และอาชญากรรมไซเบอร์ ในมหาวิทยาลัย อาทิ
- วิทยากรรับเชิญบรรยาย Blockchain & Crpto currency, PDPA และอาชญากรรมไซเบอร์ ในหลายสถาบัน อาทิ
- ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท Cyberry Music จำกัด (ค่ายเพลงออนไลน์แห่งแรกของไทย)
- ที่ปรึกษาโครงการวิจัย การพัฒนากระบวนการจัดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิติวิทยาศาสตร์ในคดีเด็กและเยาวชน ทุนอุดหนุนการวิจัยจาก คณะนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ พ.ศ. 2561 (รับผิดชอบการรวบรวมพยานหลักฐานดิจิทัล)
- ที่ปรึกษาโครงการวิจัย การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลและจัดทาธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (รับผิดชอบวางแนวทางปฏิบัติPDPA ของกรมฯ) พ.ศ. 2565
- คณะทำงานยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแห่งชาติ
- พนักงานปฏิบัติการระดับสูง ประจำรองประธาน กสทช.
- รักษาการผู้อำนวยการ ส่วนสนับสนุนงานวิชาการด้านการกากับดูแล และพัฒนาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สำนักกิจการกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ศ. 2553)
- วิศวกรโทรคมนาคมบริษัทเอกชนไทยและต่างชาติ
งานด้านนิติบัญญัติในสภาผู้แทนราษฎร
- กรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ (กสทช.)
- กรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (E - Platform Tax)
- กรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาศึกษาการขยายสัญญาสัมปทานทางด่วน และรถไฟฟ้า (บีทีเอส) (มูลค่าโครงการรวม 1.37 แสนล้านบาท)
- กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก(PM2.5)
- รองประธานกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติยุบเลิกบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
ประสบการณ์ปฏิบัติงาน และการศึกษาดูงาน ในต่างประเทศ
สวิสเซอร์แลนด์
- องค์การสหประชาชาติ (United Nations) กรุง เจนีวา
สาธารณรัฐประชาชนจีน
- ผู้แทนไทย ได้รับทุนองค์การโทรคมนาคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก เข้าร่วมประชุม Asia-Pacific Telecommunity
- Wireless Forum and RFID Ubiquitous ณ เมือง เสินเจิ้น, กันยายน 2548
- Huawei Head Quarter, Research and Development Center
- ดูงาน CEBIT Asia 2007 ที่ เซี่ยงไฮ้
ญี่ปุ่น
-เทคโนโลยีการสื่อสารเมื่อเกิดภัยพิบติ Fire and Disaster Management Agency of Ministry o fInternal affairs and communications
- NTT DOCOMO R&D Center, Yokosuka Research Park
มาเลเซีย
- ผู้แทนไทย ร่วมการประชุมใหญ่ระดับโลก ว่าด้วยวิทยุคมนาคม ค.ศ. 2007 ครั้งที่ 2 (APG2007-2) ณ กรุงกัวลาร์ ลัมเปอร์
นิวซีแลนด์
- ดูงานงานด้าน Internet Gate Way กับ IPstar Gateway ที่เมือง Auckland
- หารือร่วมกับผู้ให้บริการ ISP และโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประเทศ New Zealand ณ เมือง Christchurch ถึงแนวทางการ เข้าถึงโครงข่ายความเร็วสูงของประชาชน
ออสเตรเลีย
- ศึกษาดูงานหน่วยงานกำกับดูแลของรัฐบาล ออสเตรเลีย (ACMA) เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมด้าน Spectrum, Bidding & Auction ณ กรุง Melbourne
- ศึกษาดูงานกับผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ที่สุดของ ออสเตรเลีย (Telstra) เกี่ยวกับการทำตลาด (3G Marketing) โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม ณ เมือง Canberra
- ศึกษาดูงานหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมของประเทศออสเตรเลีย Australian Competition and Consumer Commission (ACCC) เรื่อ competition and consumer regulator ณ กรุง Melbourne
- ศึกษาดูงานที่ Department of Communication, Information Technology and the Arts (DCITA) เรื่อง FTA, Liberalization, Cooperation between regulators and regulators ณ เมือง Canberra
-ศึกษาดูงานด้านอนุญาโตตุลาการข้อพิพาทโทรคมนาคมของประเทศออสเตรเลียที่TelecommunicationIndustry Ombudsman (TIO) ณ กรุง Melbourne เกี่ยวกับแนวทางการระงับข้อพิพพาทในกิจการโทรคมนาคม
เยอรมนี
-ศึกษาดูงาน The Federal Network Agency (German:Bundesnetzagentur,BNetzA) หน่วยงานกำกับดูแลไฟฟ้า ก๊าซ และโทรคมนาคม
- อบรมกลยุทธ์การกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม ศูนย์ฝึกอบรม DETECON Consulting กรุง Bonn
- อบรมหลักสูตร Wholesales and Regulatory Strategies ที่มหาวิทยาลัย Aachen University of Applied Science
อิตาลี่
- ศึกษาดูงานบริษัทไอทีชั้นนำของโลกที่ SAP
สเปน
- ดูงาน World Mobile Congress ที่ บาเซโลน่า
สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
- ดูงานบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษัท Tango
เบลเยี่ยม
- ศึกษางานการบริหารจัดการบรรเทาสาธารณภัยด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกาหลีใต้
- ผู้แทนไทยร่วมประชุม ITU co-operate on ICT development ณ เมือง ปูซาน
ฯลฯ
ประสบการณ์เป็น คณะทำงาน คณะกรรมการ และอนุกรรมการ ที่เกี่ยวข้องกับโทรคมนาคม
- คณะทำงานยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ สำนักงาน กสทช.
- กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการกำกับการดำเนินการออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม (3G) สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2548
- ผู้แทนไทย (กทช.) เข้าร่วมประชุม WP8F กับ ITU รวมทั้งผู้แทนประเทศต่างๆ และบริษัทโทรคมนาคมชั้นนำของโลก เกี่ยวกับการปรับปรุงมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT-2000 (3G)
- ผู้แทนไทย (กทช.) ร่วมประชุม 12th Joint Technical Committee a Long Border Thailand-Malaysia (รับผิดชอบเจรจาการป้องกันการรบกวนระบบโทรคมนาคมของหน่วยงานความมั่นคง มาเลย์เซีย)
- ผู้แทน กทช. ร่วมประชุม Virtual Conference กับ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ครั้งที่ 1 ประเด็น Spectrum Management พ.ศ. 2548
- ผู้แทน กทช. ร่วมประชุม Virtual Conference ร่วมกับ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ครั้งที่ 3
- เลขานุการ คณะทำงานจัดทำฐานข้อมูลการใช้ความถี่วิทยุและผู้ใช้ความถี่วิทยุ (Spectrum Inventory) ประเทศไทย
- คณะทำงาน และผู้ช่วยเลขานุการ คณะทำงานร่างแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่แห่งชาติ (ปี พ.ศ. 2548)
- ผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการจัดทำตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติ (ปี พ.ศ. 2548)
- อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทำมาตรฐานด้านการสื่อสารทางแสง (Optical Communications) สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
- อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ Access Network Equipment สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย
- ผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
- คณะทำงาน ร่วมศึกษาแนวทางการกำหนดมาตรฐานการใช้งาน RFID ในประเทศไทย ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันรหัสสากล ในสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
- คณะทำงาน ดำเนินโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) โครงการศึกษาแนวทางจัดสรรคลื่นความถี่สำหรับการสื่อสารไร้สายความเร็วสูง Wi-Max
- คณะทำงาน ดำเนินโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ในส่วนคณะทำงานด้านโครงการศึกษาแนวทางจัดสรรคลื่นความถี่สำหรับ RFID
- คณะทำงาน ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติและศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) โครงการศึกษาผลกระทบของการส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์แบบดิจิตอล (Digital TV Broadcasting)
ประสบการณ์การบริหารโครงการวิจัยในฐานะ ประธานกรรมการตรวจและรับมอบงานวิจัยของ สำนักงาน กสทช.
- ประธานกรรมการฯ โครงการจัดทำแหล่งข้อมูลทางวิชาการด้านความมั่นคงข้อมูลข่าวสาร (Cyber security) และทฤษฎีการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information warfare) สำนักงาน กสทช. ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการจากกองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคง (พ.ศ.2555)
- ประธานกรรมการฯ โครงการศึกษาเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อความมั่นคง สำนักงาน กสทช. ร่วมกับนักวิชาการจากหน่วยงานความมั่นคง (พ.ศ.2556)
- ประธานกรรมการฯ การศึกษาแนวทางการประยุกต์เทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามทั้งไทยและต่างประเทศ (พ.ศ. 2557)
- ประธานกรรมการฯ การศึกษารวบรวมเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อป้องกันการจารกรรมในต่างประเทศ (พ.ศ. 2557) (มูลค่าโครงการ 3 ล้านบาท)
- ประธานกรรมการฯ โครงการศึกษาความมั่นคงข้อมูลการเข้ารหัส Encryption ชนิด A5/1 และ A5/2 ในระบบ GSM ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (พ.ศ.2556) (สืบเนื่องจากการแก้ไขปัญหายาเสพติด)
- ประธานกรรมการฯ การศึกษาแนวทางการปฏิบัติภารกิจพิเศษของ กสทช. เมื่อประเทศไทยเกิดภัยพิบัติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ.2556)
- ประธานกรรมการฯ โครงการศึกษาเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการออกแบบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารคลื่นความถี่ของประเทศ สำนักงาน กสทช. ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ.2555)
- ประธานกรรมการฯ โครงการนำร่องในการจัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนากระบวนการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะในกิจการโทรคมนาคม สำนักงาน กสทช. (พ.ศ.2555)
- ประธานกรรมการฯ โครงการพัฒนาระบบการสื่อสารภาษามือไทยอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับศูนย์บริการทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ.2553)
- ประธานกรรมการฯ โครงการศึกษารวบรวมวิธีการออกแบบ โน้ตบุ๊คคนตาบอดเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต (พ.ศ.2556)
- ประธานกรรมการฯ การศึกษา วิเคราะห์ทิศทางและแนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยี Near Field Communication (NFC) ในประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ.2555)
- ประธานกรรมการฯ โครงการจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาแนวโน้มการใช้คลื่นความถี่เป็นตัวกลางในการส่งพลังงานไฟฟ้า (พ.ศ.2556)
- ประธานกรรมการฯ โครงการพัฒนาระบบเตือนภัยจากการแพร่กระจายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีโทรศัพท์เคลื่อนที่เกินกำหนดโดยภาคประชาชน (พ.ศ.2556)