กรณีศึกษาที่ 3


"เคสวัย 70 ปีที่เป็นสมองเสื่อมมา 3 ปี ไม่อยากออกสังคม เงียบอยู่คนเดียว เดิมเป็นทนายความและเครียดด้วยภาวะหนี้สินสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ แต่อยากช่วยครอบครัวทำงานแบบกิจกรรมยามว่าง ชอบปลูกต้นไม้ทานได้"

วิเคราะห์ข้อมูลผู้รับบริการ

Person

Environment

Occupational

Performance

อายุ 70 ปี

เพศ –

อาชีพ ทนาย

โรคประจำตัว มีภาวะสมองเสื่อมนาน3ปี

Personal causationไม่อยากออกสังคม
Habit เงียบอยู่คนเดียว
Interest ชอบปลูกต้นไม้ทานได้

Role เป็นสมาชิกในครอบครัว

Social ไม่ค่อยพบปะผู้คนเนื่องจากไม่อยากออกสังคม
Financial status มีหนี้สินสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ

Physical environment -

ADL -
IADL -
Work อาชีพเดิมเป็นทนาย ปัจจุบันไม่ได้ทำ
Rest -
Leisure ชอบปลูกต้นไม้ทานได้
Social participation ไม่ได้พบปะผู้คน เนื่องจากไม่อยากออกสังคม อยากอยู่คนเดียว

ผู้รับบริการมีแรงจูงใจในการทำงานเป็นกิจกรรมยามว่าง (Work as a leisure) เพื่อช่วยครอบครัว

ประเมินเพิ่มเติมทางกิจกรรมบำบัด

ด้านร่างกาย

  • ประเมินการทำกิจกรรมดำเนินชีวิต ผ่านแบบประเมิน Routine Task Inventory-expanded (RTI-E)
  • ประเมินภาวะสมองเสื่อมจากแบบประเมิน Mini mental state examination (MMSE Thai-2002)

ด้านจิตใจ

  • ประเมินระดับความเครียด จากแบบสอบถาม Suanprung stress test (SPST-20)
  • ประเมินภาวะซึมเศร้า จากแบบสอบถาม Thai General Health Questionnaires -12
  • ประเมินคุณภาพชีวิต จากแบบสอบถาม เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–THAI)

ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม

  • ประเมินสภาพบ้าน จากแบบประเมินสภาพบ้าน
  • ผู้รับบริการมีความเครียดจากภาวะหนี้สินสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ
  • ผู้รับบริการต้องการช่วยครอบครัวทำงานแบบกิจกรรมยามว่าง

Job analysis ตัวอย่างกิจกรรม “เพาะเห็ดนางฟ้า”

ขั้นตอนกิจกรรม

องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรม

จัดสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ต้องการจะปลูกเห็ด เช่น โอ่งหรือตู้เก็บกับข้าวที่ไม่ใช้แล้ว

Motor skill

Attention

Memory

Perception

Hand function

ซื้อก้อนเชื้อเห็ด

Driving and community mobility

Social skill

Memory

Perception

Calculation

Orientation of place

เพาะเห็ดโดยรดน้ำ 3 ครั้ง/วัน มีผ้าคลุม และเก็บผลผลิต

Functional mobility

Orientation of time and place

Memory

Hand function

นำเห็ดไปขายที่ตลาด

Driving and community mobility

Social skill

Higher-level cognitive

Calculation

Memory

Attention

Perception

Problem list

  • ผู้รับบริการมีความเครียดจากภาวะหนี้สินสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ
  • ผู้รับบริการต้องการช่วยครอบครัวทำงานแบบกิจกรรมยามว่าง

Intervention plan

1.ผู้รับบริการมีความเครียดจากภาวะหนี้สินสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ

Goal : ผู้รับบริการสามารถทำงานเพาะเห็ดเป็นกิจกรรมยามว่างด้วยตนเองภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์

Frame of Reference : Model of Human Occupational(MOHO), Occupational adaptation, Physical Rehabilitation FoR., Behavioral FoR.

Approach : Work Hardening, Work conditioning, Reminiscences, Reinforcement

Therapeutics media : Therapeutics use of self, Teaching and learning process, Activity analysis and synthesis

Therapeutics activity : - สอบถามผู้รับบริการเกี่ยวกับภาวะความเครียดที่มีในปัจจุบันและการจัดการในขณะที่มีความเครียด

- จัดสิ่งแวดล้อมขณะจะเริ่มทำกิจกรรมที่ผ่อนคลายโดยให้ผู้รับบริการมีส่วนช่วยในการออกความคิดเห็นและลองจัดสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกับผู้บำบัด เช่น การเลือกกลิ่นน้ำมันหอมระเหย

- วัดอัตราการเต้นของหัวใจและการหายใจและความดันโลหิตขณะก่อนและหลังทำกิจกรรมเพื่อนำมาเป็นการแสดงผลข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้รับบริการ

- เริ่มทำกิจกรรมโดยนำวิธีที่ผู้รับบริการเลือกใช้ขณะเครียดมาทำในสถานการณ์จำลอง และวัดค่าต่างๆหลังจบกิจกรรมขั้นนี้

- หลังจากผู้รับบริการพักได้สักระยะ เริ่มทำกิจกรรมการจัดการความเครียดโดยใช้วิธีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อทีละส่วนเพื่อให้ผู้รับบริการรับรู้ความตึงและความคลายของกล้ามเนื้อทีละส่วนร่วมกับการฟังเพลงที่ผ่อนคลาย

- สอบถามความรู้สึกหลังทำกิจกรรม และแสดงผลข้อมูลย้อนกลับของผู้รับบริการและเชื่อมโยงเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผู้รับบริการได้ทำไปGoal : ผู้รับบริการมีการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมกับครอบครัวตามความสนใจภายในระยะเวลา 4สัปดาห์

2. ผู้รับบริการต้องการช่วยครอบครัวทำงานแบบกิจกรรมยามว่าง

Goal : ผู้รับบริการสามารถทำงานเพาะเห็ดเป็นกิจกรรมยามว่างด้วยตนเองภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์
Frame of Reference : Model of Human Occupational(MOHO), Occupational adaptation, Physical Rehabilitation FoR., Behavioral FoR.
Approach : Work Hardening, Work conditioning, Reminiscences, Reinforcement
Therapeutics media : Therapeutics use of self, Teaching and learning process, Activity analysis and synthesis
Therapeutic activity :

  • Work conditioning : ฝึกทักษะเกี่ยวกับความคิดความเข้าใจ(Cognition) โดยใช้หลักการ Reminiscences ผู้รับบริการจะได้รำลึกถึงความทรงจำในอดีต กระตุ้นความทรงจำระยะยาวผ่านสิ่งที่เคยทำมาแล้วในอดีต เช่น การทำงานฝีมือที่คุ้นเคยในอดีต
    - ฝึกเกี่ยวกับความจำ(Memory) เช่น ให้ผู้รับบริการเล่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน, การเล่าเรื่องให้ผู้บำบัดฟังว่าในแต่ละวันทำอะไรบ้าง, เขียนบันทึกประจำวันหรือรายรับรายจ่าย เนื่องจากผู้รับบริการสมองเสื่อมความทรงจำระยะสั้นจะได้รับผลกระทบก่อนเป็นอันดับแรก ซึ่งจะมีผลต่อการเรียนรู้และจดจำสิ่งใหม่
    - ฝึกการเรียงลำดับขั้นตอน(Sequences) เช่น ให้ผู้รับบริการเรียงลำดับก่อนหลังจากภาพอุปกรณ์การทำกิจวัตรประจำวัน หรือ กิจกรรมการเรียงลำดับขั้นตอนการเพาะเห็ด
    - ฝึกทักษะคิดคำนวณ (Calculation) เช่น การทำรายรับรายจ่าย, การไปจ่ายตลาด, การจำลองสถานการณ์ในคลีนิก หรือการคิดหาวิธีผ่อนชำระหนี้สินที่ยังคงค้าง
  • Work Hardening : ฝึกการเพาะเห็ดจริงๆในสถานที่จริง โดยเริ่มจาก
    -ให้ผู้รับบริการได้เรียนรู้ขั้นตอนคร่าวๆทั้งหมดผ่านการสาธิตจากผู้บำบัด
    -จากนั้นให้ผู้รับบริการลองทำเองทีละขั้นตอนโดยมีผู้บำบัดคอยช่วยดูแลอยู่อย่างใกล้ชิด
    -คอยให้คำชมเมื่อผู้รับบริการสามารถจดจำขั้นตอนได้ด้วยตนเอง
    -พยายามกระตุ้นให้ผู้รับบริการเล่าถึงในสิ่งที่กำลังทำอยู่ขณะนั้น
  • Job modification : Grade up -> ให้ผู้รับบริการทำก้อนเชื้อเพาะเห็ดเอง, เพิ่มสายพันธุ์เห็ดที่จะเพาะขาย, เพิ่มจำนวนก้อนเชื้อเพาะเห็ด
    Grade down -> ให้ผู้รับบริการช่วยเฉพาะขั้นตอนเก็บเห็ด
    Activity adaptation -> ใช้นาฬิกาปลุกมาช่วยในการเตือนเวลารดน้ำ

-ให้ผู้รับบริการทำตารางเวลาการรดน้ำเห็ดเพื่อป้องกันการหลงลืมและฝึกการทำกิจกรรมตามตารางเวลา
-เมื่อผลผลิตโตขึ้นวันละไม่มากนักแต่มีความเปลี่ยนแปลงจะช่วยเป็นแรงผลักดันหรือข้อมูลย้อนกลับให้ผู้รับบริการมีแรงจูงใจในการทำกิจกรรมเพาะเห็ดเป็นกิจกรรมยามว่าง
-เมื่อเห็ดโตเต็มที่ให้ตัดนำมาใส่ถุงเพื่อนำไปขาย ในตอนแรกจะจำลองสถานการณ์การค้าขายกับผู้บำบัดเพื่อฝึกการรับและทอนเงิน, การจดจำราคาสินค้า, การรู้จักกะปริมาณชั่งน้ำหนักสินค้า เป็นต้น

จัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน (Work station) <br> สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเพาะเห็ด -&gt; มีความชื้นสูงประมาณ 80-90%, ไม่โดนแดดจัด, อากาศถ่ายเทสะดวก, อุณหภูมิประมาน 28-32 องศา<br> สิ่งแวดล้อมที่เปลอดภัยกับผู้สูงอายุ -&gt; พื้นไม่ลื่น, มีแสงสว่างเพียงพอ, ที่ตั้งของก้อนเพาะเห็ดไม่อยู่ต่ำเกินไปจนก้มหลังเพื่อหยิบหรือสูงเกิดไปจนรดน้ำลำบาก


References :

A. Mofredj, MD, S. Alaya, MD, K. Tassaioust, MD, H. Bahloul, MD, A. Mrabet, MD. Music therapy, a review of the potential therapeutic benefits for the critically ill [Internet] 2016. [cited 2016 Sep 29]. Available from: http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S...

Toshimichi Nakamaea, b, , , Kayano Yotsumotoa, Eri Tatsumic, Takeshi Hashimotoa. Effects of Productive Activities with Reminiscence in Occupational Therapy for People with Dementia: A Pilot Randomized Controlled Study [internet] 2014. [cited 2016 Sep 29]. Available from: http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S156918611400014X

Tracy Chippendale; Marie Boltz. Living Legends: Effectiveness of a Program to Enhance Sense of Purpose and Meaning in Life Among Community-Dwelling Older Adults [internet] 2015. [cited 2016 Sep 29]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=2360700&resultClick=3

หมายเลขบันทึก: 616845เขียนเมื่อ 10 ตุลาคม 2016 20:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 ตุลาคม 2016 20:07 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท