ธนาคารกลางต่อธุรกิจในช่วงวิกฤติ


วิกฤต คือ เหตุการณ์ที่เข้าใกล้อันตราย ควบคุมไม่ได้ หากแก้ไขไม่ได้อาจเกิด หายนะ จากความหมายข้างต้นของคำว่าวิกฤตอาจทำให้ใครหลายคนกลัว ถ้ามีวิกฤตเกิดขึ้นจะส่งผลไม่ดีเป็นแน่ ถ้าวิธีแก้ไขนั้นไม่สามารถควบคุมวิกฤตที่เกิดขึ้นได้ โดยมีสาเหตุเนื่องมาจากความผิดพลาดในการดำเนินนโยบายของธนาคารกลางซึ่งส่งผลกระทบต่อประเทศเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการค้าการบริการ หรือแม้กระทั่งด้านการเกษตร...ธนาคารกลางทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการดำเนินงานทางการเงินภายในประเทศ และควบคุมปริมาณเงินในระบบให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความสมดุลต่อระบบเศรษฐกิจ โดยมีบทบาทหลักๆในการกำหนดและดำเนินนโยบายการเงิน เป็นนายธนาคารและนายทะเบียนหลักทรัพย์ของรัฐบาล กำกับและตรวจสอบสถาบันการเงิน เป็นต้น ซึ่งบทบาทเหล่านี้ถ้าถูกดำเนินการไปอย่างผิดพลาดก็จะส่งผลกระทบต่อประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงต้องนำวิกฤตนั้นมาเป็นบทเรียนเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำรอยขึ้นได้อีก

บทบาทหน้าที่ของธนาคารกลาง

  • ดำเนินนโยบายการเงิน
  • กำหนดอัตราดอกเบี้ย
  • ควบคุมปริมาณเงินของประเทศ
  • เป็นนายธนาคารของรัฐบาลและธนาคารของนายธนาคาร ("ผู้ให้กู้ยืมแหล่งสุดท้าย")
  • จัดการการเปลี่ยนต่างประเทศและปริมาณทองคำสำรองของประเทศ และทะเบียนหุ้นของรัฐบาล
  • กำกับและดูแลอุตสาหกรรมการธนาคาร
  • ตั้งอัตราดอกเบี้ยอย่างเป็นทางการ ซึ่งใช้จัดการทั้งภาวะเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ และรับประกันว่าอัตรานี้มีผลผ่านกลไกนโยบายต่าง ๆ

ที่มา : https://th.wikipedia.org

หลังจากได้รับบทเรียนประเทศไทยได้มีการำเอาความผิดพลาดที่เกิดขึ้นมาปรับปรุงแก้ไขในระบบต่างๆเพื่อให้เศรษฐกิจ สังคม ของไทยมีมั่นคงมากพอและรองรับปัญหาได้


หมายเลขบันทึก: 602071เขียนเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2016 12:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2016 08:51 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท