กลไก การดำเนินการของสถาบันการเงินและนโยบายการเงินของธนาคารกลางด้วย


กลไก การดำเนินการของสถาบันการเงินและนโยบายการเงินของธนาคารกลางด้วย ดังนี้

1. มีการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่ทั่วถึง

การที่ธนาคารพาณิชย์เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนมาตรการนี้ และเมื่อไม่มีอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสมมาช่วยคัดกรองการอนุมัติสินเชื่อแล้วธนาคารพาณิชย์ต้องอาศัยหลักเกณฑ์อื่นที่ไม่ใช่กลไกตลาดมาคัดกรองผู้ประกอบการที่ควรได้รับความช่วยเหลือ ทำให้ลูกค้าชั้นดีที่มีความเสี่ยงต่ำได้รับประโยชน์ ขณะที่ธุรกิจที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างแท้จริงมักเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงกลับไม่ได้รับผลประโยชน์ จะทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการแข่งขันเพราะมีต้นทุนการเงินที่ไม่เท่าเทียมกัน

2. สามารถเกิดการแย่งชิงทรัพยากรได้

เนื่องจากความเสียหายครั้งนี้ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อผู้ประกอบการทุกขนาด การให้ดอกเบี้ยต่ำกว่า

อัตราตลาดอาจเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้ประกอบการที่สามารถระดมทุนจากแหล่งเงินทุนอื่น ซึ่งจะยิ่งริดรอนโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของธุรกิจหรือผู้ประกอบการที่อ่อนแอกว่า

3. ลดความสามารถการแข่งขันของภาคธุรกิจ

อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ภาคธุรกิจได้รับจากธนาคารพาณิชย์ เป็นตัวแปรที่สะท้อนถึงความเสี่ยงของธุรกิจ

ทำให้ภาคธุรกิจนั้นไม่มีศักยภาพในการแข่งขันในระยะยาว(Enfant Business)

4. สร้างการบิดเบือนในการลงทุน

เงินที่นำมาใช้ในการผลักดันนโยบายนี้มีต้นทุนค่าเสียโอกาส ทำให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าในเชิงนโยบายอย่างแท้จริง

5. มีผลต่อสภาพคล่องในระบบซึ่งกระทบต่อการดำเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลาง

นโยบายการเงินเพื่อดำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพภายในประเทศ ผ่านการรักษาปริมาณเงินในระบบให้เหมาะสมไม่ว่าจะกำหนดเป้าหมายนโยบายการเงิน เช่น การดูแลเสถียรภาพด้านราคาปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ย หรืออัตราแลกเปลี่ยนเป็น

ที่มาhttps://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleA...59.pdf


หมายเลขบันทึก: 602061เขียนเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2016 12:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2016 12:07 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท