เมื่อต้องลงมือเขียน SOAP Note นัั้นก็ไม่ง่ายอย่างที่คิด(internship 2)


Brain dominant and PMR recording

Subjective(S): กรณีศึกษา เพศ หญิง วัยผู้ใหญ่ ผมหยักศก รูปร่างท้วม สีหน้ากังวล พูดเสียงเบา “หายใจเข้าไม่สุด” น้ำตาคลอ ขณะให้หลับตาเล่าเรื่องราวอดีต มีความคิดกังวล กดดันจากที่ทำงาน ทำงานช้าลง

Objective(O): เลือกสิ่งแวดล้อม บริเวณเบาะนุ่ม และ fiber optics ในห้อง multisensory room

  • วัดชีพจรครั้งที่ 1 (ก่อนเริ่ม) 71ครั้ง/นาที ในสิ่งแวดล้อมทั่วไป จับเวลา จับชีพจร หลัง Progressive muscle relaxation(PMR) 8 นาที
  • วัดชีพจรครั้งที่ 2 63ครั้ง/นาที
  • วัดชีพจรครั้งที่ 3 64ครั้ง/นาที ในสิ่งแวดล้อมแสงไฟ
  • วัดชีพจรครั้งที่ 4 60ครั้ง/นาที ในสิ่งแวดล้อมแสงไฟพร้อมทำ PMR
  • วัดชีพจรครั้งที่ 5 61ครั้ง/นาที หลังจากยืนหายใจเข้า แล้วหายใจเข้า ออกเสียง อา-เอ-อี-โอ-อู และ อา-เอ-อี-โอ-อู 2 รอบ (deep breathing /vocalization)

ผู้รับบริการรู้สึกว่าการฝึก progressive muscle relaxation ทำให้ตนเองผ่อนคลายมากขึ้น

H-T-P ก่อน PMR

Assessment(A): ให้ผู้รับบริการวาดรูป บ้าน คน ต้นไม้ พบว่า poor self-esteem, stress ก่อนการฝึก PMR ในสิ่งแวดล้อมแสงไฟ และให้วาดรูป บ้าน คน ต้นไม้ อีกครั้งหลังทำ PMR พบว่ามี flexible and free thinking และมีความรู้สึกเท่าเทียม ไม่คาดหวังสูง จากนั้นสอบถาม time and routine ADL พบว่า มี imbalance (Work and Leisure)

Program evaluation and Plan(P): พบว่า Home program ที่ดีคือ การทำ PMR ด้วยตนเองในห้องนอนที่เปิดโคมไฟและไม่ใช้มือถือ ไม่ดู TV (แสงสีฟ้า) ก่อนนอน 1 ชั่วโมง และในกรณีที่เครียด กังวล ในที่ทำงานให้เดินแล้วหายใจออกเสียง อา-เอ-อี-โอ-อู

-Break the routine and banking energy โดยการปรับเวลาทำงาน 70% ให้สมดุลขึ้น (work 30% /Leisure 40% โดยทำกิจกรรมว่ายน้ำ อ่านหนังสือ ไปจ่ายตลาด และลองทำเมนูอาหารใหม่ๆ)

AAR: OT conference

S: Good self-awareness on health conscious, poor self-esteem, hyperactive thinking and mild anxiety

O: Good self-learning and relaxed (PP decreased) on progressive muscle relaxation (PMR). Unable to do deep

breathing, Rt. dominant eye, leg and hand

A: Improved ability for relaxation in both PMR and slow light environment. H-T-P found poor self-esteem,

asymmetrical thought and repetitive changed into flexible and free thinking

P: good self-satisfaction on time and energy management to be further F/U.Mild anxiety reduction stress released

(PP decreased) PMR and slow light for better sleep at home

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง สำหรับการ Coaching และ ให้คำแนะนำ สไตล์ผู้นำระนาดทุ้มค่ะ เรียนรู้ว่าถึงจะมีประสบการณ์ในการทำคลินิกมานานขนาดใหนก็ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ทำทุก occupationให้เป็นเรื่องท้าทายของชีวิตและอย่ายึดติดกับ routine เดิม :)

หมายเลขบันทึก: 600203เขียนเมื่อ 30 มกราคม 2016 22:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2016 12:10 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบพระคุณมากครับอ.น้องแอนที่อดทนและมุ่งมั่นพัฒนาตนเองในการเป็นอาจารย์กิจกรรมบำบัดที่มีคุณค่าในปัจจุบันขณะนะน้องรัก

ขอบคุณ อ.ป้อบที่ทุ่มเทในการสอนตลอดมาค่ะ ดีใจที่ได้เป็นศิษย์อ.ป้อบค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท