ปรัชญาการเรียนรู้ตลอดชีวิต ภาวะผู้นำ ของ ศ. ระพี สาคริก (30)


ในเมื่อพื้นฐานของสังคมไทยในอดีตมีความอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งนี้เองที่บ่งบอกถึงสัจธรรมให้หยั่งรู้ได้ว่า "คนโบราณมีความรู้เรื่องการเกษตรลึกซึ้งยิ่งกว่าคนยุคนี้"

แต่จากผลการวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ของ การจัดการศึกษาเกษตรไทยเท่าที่ผ่านพ้นมาแล้ว เราจะเห็นได้ว่าแม้ราชการก็ยังส่งคนไปศึกษาเพื่อเอาปริญญาสูง ๆจากเมืองฝรั่งและหอบกลับมาเผยแพร่สู่เยาวชนและเกษตรกรซึ่งใช้ชีวิตอยู่ในระดับพื้นดิน

สภาพการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ถ้าไม่เรียกว่าพัฒนาคนให้เป็นผู้ดูถูกพื้นฐานของตัวเองแล้วเราจะเรียกว่าอะไร?

ถ้าคนท้องถิ่นลงมือปฏิบัติจากความจริงที่อยู่ในจิตใจตนเองแล้ว ควรจะมีผลทำให้คนท้องถิ่นมีความรู้ในระดับพื้นฐานที่ลึกซึ้งยิ่งกว่าการไปศึกษาจากเมืองฝรั่ง

จากบทความ "การสูญเสียสัจธรรมที่อยู่ในรากฐานจิตใจตัวเองของคนท้องถิ่น"

หมายเลขบันทึก: 590260เขียนเมื่อ 15 พฤษภาคม 2015 23:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 พฤษภาคม 2015 23:20 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

Yes, ancient Thais knew much about living with Nature and they did not spend much time building grand gardens and parks. (Show me an ancient Thai garden! To prove me wrong.) But ancient Thais did not do enough trade with other 'nations'. (Just look who are traders in Thailand now.)

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท